แมลงทับขาเขียว : ศัตรูตัวใหม่ของไม้พฤกษ์ /

เดชา วิวัฒน์วิทยา.

แมลงทับขาเขียว : ศัตรูตัวใหม่ของไม้พฤกษ์ / เดชา วิวัฒน์วิทยา, วาลุลี โรจนวงศ์

พฤกษ์ มีชื่อเรียก อย่างอื่นอีกเช่น มะรุมป่า ก้ามปู ชุง รุ้ง กะซึก กาแซ กาไพ มาขามโคก จามรี จามจุรี ถ่อนนา และกรีด เป็นต้น เป็นต้นไม้ ขนาาดกลาง ถึงขนาดใหญ่ เป็นต้นไม้โตเร็ว ขึ้นได้ดีบนพื้นที่เสื่อมโทรม ใช้ทำสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ต่อเรือ เครื่องแกะสลัก เครื่องมือ ทางการเกษตร ฯลฯ (มีต่อ) นอกจากนี้ ยังจัด เป็น พืชสมุนไพร อีกด้วย ศัตรูของไม้พฤกษ์ คือ แมลงทับขาเขียว ตัวเต็มวัย เป็นด้วงขนาดใหญ่ สีเขียวมรกต มันวาว เป็นแมลงที่มี ความสวยงาม มีอายุประมาณ 3-4 สัปดาห์ พบมากในเดือน กรกฏาคม ถึงเดือนตุลาคม แมลงทับขาเขียว ทำลายต้นพฤกษ์ (มีต่อ) ได้ทั้งระยะหนอน และ ตัวเต็มวัย ตัวหนอนจะกัดกิน บริเวณคอราก ของต้นพฤกษ์ ที่มีขนาดเล็ก โดยกัดกิน บางส่วน หรือรอบคอราก สำหรับแนวทาง การป้องกัน สามารถดำเนินการ โดยทำลาย ตัวเต็มวัย หรือใช้สารฆ่าแมลง เอ็นโดซัลแฟน / ฟีโนบคาร์บ (ธีโอคาร์บ 2%G) อัตรา 5 กก./ไร่ (มีต่อ) ราดบริเวณ โคนต้นพฤกษ์ หรือบริเวณใกล้เคียง ก็จะทำให้ ตัวหนอนที่กัดกิน รากตายได้ การส่งเสริม หรือ อนุรักษ์ให้มี มดอาศัย ตามพื้นป่า ก็จะเป็นการ ช่วยกำจัด แมลงทับขาเขียว ได้อีกทางหนึ่ง โดยไม่เกิด ผลกระทบ ทั้งต่อระบบ ระบบนิเวศ และ สภาพแวดล้อม


แมลงศัตรูพืช--การควบคุม.
พฤกษ์--แมลงศัตรูพืช.
SCI-TECH.