การมัลติเพลกซ์เชิงความยาวคลื่นสำหรับ ระบบเครือข่ายใยแก้ว บี 2,000 พลัส /

ปรีชา ยุพาพิน.

การมัลติเพลกซ์เชิงความยาวคลื่นสำหรับ ระบบเครือข่ายใยแก้ว บี 2,000 พลัส / ปรีชา ยุพาพิน

การสื่อสารเริ่มจากความพยายามของมนุษย์ ในการหาวิธีต่างๆ สำหรับการติดต่อซึ่งกันและกัน ต่อมาใช้สัตว์เป็นพาหนะ เช่น ม้า และช้าง และเรียนรู้วิธีการสื่อสาร ด้วยการใช้สัญญาณ เช่นการใช้ควันไฟและเสียง จนมีการพัฒนาการสื่อสาร ทำให้สามารถติดต่อกันได้ไกลขึ้น (มีต่อ) เช่น โทรเลข โทรศัพท์ และโทรพิมพ์ การสื่อสารสารดังกล่าวเป็นการสื่อสารจุดต่อจุด Point to Point ที่ยังมีข้อจำกัด สำหรับการใช้อยู่มาก ต่อมาพัฒนาไปสู่การสื่อสารหลายจุด Multipoint สามารถติดต่อกว้างขึ้น แต่ก็ยังไม่ทำให้การสื่อสารเกิดประโยชน์เต็มที่ (มีต่อ) จึงได้มีการพัฒนาเป็นการมื่อสารแบบเครือข่าย ( Networks ) เป็นวิธีที่ทำให้สามารถติดต่อกันทั่วถึง เทคโนโลยีระบบการสื่อสารเครือข่าย Communieat Networks system เป็นระบบการสื่อสารที่มีการเชื่อมโยงกันได้ตลอดเวลา เครือข่ายแบบเดิมใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (มีต่อ) หรือแสงความยาวคลื่นเดียว ย่อมมีขีดจำกัดเรื่องความจุของสัญญาน หรือข้อมูลที่ต้องพิมพ์ เป็นผลเกิดประสิทธิภาพของการสื่อสาร ด้วยเทคโนโลยีด้านแสง หรือ ไดโอดเลเซอร์ มีค่าความยาวคลื่นต่างๆ เกือบ 40 ค่า ที่แตกต่างกัน แต่ละความยาวคลื่นสามารถส่งสัญญาน (มีต่อ) มีช่วงความถี่ หรือ แมนด์วัดท์ ได้ 2.5 GHZ เมื่อนำสัญญานได้จากแต่ละความยาวมารวมกัน แล้วส่งในใยแก้วเพียงเส้นเดียว ได้ความจุสัญญาน 40 เท่าของระบบเดิม


ใยแก้ว.
การสื่อสาร.
SCI-TECH.