ระบบก๊าซชีวภาพ / (Record no. 1105)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 05731nab a2200253 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000001105
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150538.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 2000 th qr 0 0 0tha
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0001-10660
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191130
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042125
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211711
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name จรรยา เงินมูล.
9 (RLIN) 1677
245 10 - TITLE STATEMENT
Title ระบบก๊าซชีวภาพ /
Statement of responsibility, etc. จรรยา เงินมูล
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ขณะนี้ในประเทศไทย ได้มีการเลี้ยงสัตว์ กันอย่างมากซึ่งก็นับว่าเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่น่าสนใจมาก เพราะการบริโภคอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ยังคง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ปัญหาที่ตามมาขณะนี้ คือ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากฟาร์ม ส่วนใหญ่ จะมีปัญหาด้านการจำกัดของเสีย จึงทำให้เกิดปัญหามลภาวะภายในฟาร์ม และสภาพแวดล้อมใกล้เคียง รวมทั้งชุมชนรอบข้างด้วย เช่น เรื่องของกลิ่น น้ำเสีย พาหะนำโรค ดังนั้น ระบบก๊าซชีวภาพ เป็นระบบบำบัดน้ำเสียจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็นระบบที่มีความเหมาะสมมากทั้งยังประโยชน์ให้กับฟาร์มอีกด้วย (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ระบบก๊าซชีวภาพ (Biogas System) เป็นระบบที่ใช้ในการจัดการกับของเสีย ที่อยู่ในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ภายในฟาร์มได้อย่างสมบูรณ์ โดยระบบจะสามารถแก้ปัญหามลภาวะในเรื่องกลิ่น แมลงวันและน้ำเสียได้โดยการนำสารอินทรีย์ หรือมูลสัตว์ ไปหมัก โดยวิธีชีวภาพ แบบไม่ใช้อากาศ เพื่อให้กลุ่มจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนย่อยสลายมูลสัตว์ เหล่านั้น และเกิดเป็นก๊าซชีวภาพ ที่สามารถจุดไฟได้ โดยมีก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบ (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ระบบก๊าซชีวภาพ สามารถแบ่ง เป็นลำดับขั้นการทำงานต่อเนื่องกันดังนี้ 1. รางและท่อส่งน้ำเสีย ทำหน้าที่รับน้ำเสีย 2. บ่อรางน้ำเสีย ทำหน้าที่กักเก็บน้ำเสีย 3. บ่อหมักแบบราง เป็นบ่อหมักที่ให้กลุ่มจุลินทรีย์ ไม่ต้องการอากาศ ทำหน้าที่ ย่อยสลายสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ 4. บ่อหมักแบบแยกบ่อหมักไร้อากาศ ทำหน้าที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ 5. จานกรองของแข็ง ทำหน้าที่รองแยกกากตะกอน 6. ระบบบำบัดชิ้นหลัง ทำหน้าที่บำบัดและลดปริมาณ สารอินทรีย์ ปัจจุบัน ได้มีการใฃ้ก๊าซชีวภาพ อย่างแพร่หลาย ตั้งแต่บ้านของเกษตรกรที่มีสัตว์เลี้ยงไปถึง ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ จึงคาดว่า ต่อไปในอนาคตก๊าซชีวภาพ จะเป็นแหล่ง พลังงานที่สำคัญอีกทั้งยังช่วย ให้การรักษาสภาพแวดล้อม ให้ถูกสุขลักษณะ ให้ปัญหามลภาวะเสื่อม กลิ่น แมลงวัน น้ำเสีย รวมทั้งเป็นการสร้างเสริม ให้เกษตรกรและชุมชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ก๊าซชีวภาพ.
9 (RLIN) 2148
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title โลกพลังงาน
Related parts ปีที่ 3 ฉบับที่ 7 (เมษายน - มิถุนายน 2543) หน้า 50-53
International Standard Serial Number 1513-0827
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.