การชักนำการกลายพันธุ์มังคุด : ผลของสิ่งก่อกลายพันธุ์ต่อการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและเนื้อเยื่อวิทยา / (Record no. 23)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04592nab a2200265 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000023
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150046.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th qr 0 0tha
012 ## -
-- journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-02360
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191113
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042107
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211704
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name สมปอง เตชะโต.
9 (RLIN) 416
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การชักนำการกลายพันธุ์มังคุด : ผลของสิ่งก่อกลายพันธุ์ต่อการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและเนื้อเยื่อวิทยา /
Statement of responsibility, etc. สมปอง เตชะโต, วิทยา พรหมมี
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. นำแคลลัสที่ชักนำจากใบอ่อนสีม่วงแดงของมังคุดซึ่งเพาะเลี้ยงในหลอดทดลองมาฉายรังสีแกมมาและจุ่มแช่สารเคมีก่อกลายพันธุ์เอทชิลมีเธนซัลโฟเนต (EMS) ความเข้มข้นต่างๆ นำแคลลัสที่ผ่านการให้สิ่งก่อกลายพันธุ์ทั้งสองมาตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงทางเนื้อเยื่อวิทยา และชีวเคมีเพื่อหาความเข้มข้นที่เหมาะสมต่อการชักนำการกลายพันธุ์ในมังคุด จากการศึกษาพบว่าแคลลัสที่ได้รับรังสีแกมมา 40 เกรย์ 2 ครั้ง มีจำนวนชั้น ของเซลอิฟิเดอมีสที่เกิดความเสียหายมากกว่าความเข้มข้นอื่นๆ ในขณะที่การใช้ EMS 0.50% เป็นเวลา 30 และ60 นาที ส่งผลให้เกิดความเสียหายชั้นของเซลล์อิฟิเดอมีสน้อยกว่า แต่เซลล์อิฟิเดอมีสชั้นแรกเกิดความเสียหายรุนแรงมากกว่า สำหรับแคลลัสที่ได้รับทั้งการฉายรังสีแกมมา 40 เกรย์2ครั้ง ร่วมกับการจุ่มแช่ EMS ความเข้มข้นและเวลาข้างต้น ส่งผลให้จำนวนชั้นของเซลล์อิฟิเดอมีสที่เสียหายมากกว่าการให้รังสีแกมมาและ EMS เพียงอย่างเดียว ระบบเอนไซม์เปอร์ออกซิเดทมีความเหมาะสมที่สุดสำหรับใช้ตรวจสอบการกลายพันธุ์ของใบจากต้นมังคุดชั่วที1 และแคลลัสที่พัฒนาจากใบของต้นชั่ว1ทุกระดับความเข้ม ความแตกต่างของเอนไซม์เปอร์ออกซิเดส ระหว่างสิ่งก่อกลายพันธุ์ทั้งสองที่ตรวจพบมีทั้งรูปแบบ และความเข้มของไซโมกกรม แสดงว่า EMS ความเข้มข้น 0.5-1.0% และรังสีแกมมาความเข้ม 5-10เกรย์ สามารถชักนำการกลายพันธุ์จากแคลลัสมังคุดได้
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ชีวเคมี.
9 (RLIN) 417
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element มังคุด.
9 (RLIN) 418
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element เนื้อเยื่อพืช, การเพาะเลี้ยง.
9 (RLIN) 419
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
700 0# - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name วิทยา พรหมมี.
9 (RLIN) 420
773 ## - HOST ITEM ENTRY
Title สงขลานครินทร์ วทท.
Related parts ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2542) หน้า 17 - 24
International Standard Serial Number 0125-3395
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.