สภาพอากาศกับการระบาดของแมลงศัตรูอ้อย / (Record no. 4)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 05408nab a2200277 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000004
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150039.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1998 th qr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-00460
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191113
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042106
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211704
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name ชำนาญ พิทักษ์.
9 (RLIN) 352
245 10 - TITLE STATEMENT
Title สภาพอากาศกับการระบาดของแมลงศัตรูอ้อย /
Statement of responsibility, etc. ชำนาญ พิทักษ์
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ปลูกกันมากในทุกเขตของประเทศไทย แมลงศัตรูอ้อยมีหลายชนิด เช่น หนอนกออ้อย ปลวกอ้อย ด้วงหนวดยาวอ้อย แมลงนูนหลวง และแมลงหวี่ขาวอ้อย เป็นต้น จากสภาพอากาศที่แปรปรวนในช่วงปี 2540-2541 มีผลทำให้ประชากรระบาดของแมลงศัตรูอ้อยเปลี่ยนแปลงไป บางชนิดมีการระบาดเพิ่มขึ้น แต่บางชนิดลดลง ซึ่งมีข้อสังเกตดังนี้ การเปลี่ยนแปลงในทางเพิ่มขึ้น หนอนกออ้อยมี 3 ชนิด คือ หนอนกอลายเล็ก หนอนกอสีขาว และหนอนกอสีชมพู จะทำความเสียหายในระยะที่อ้อยแตกกอ พบมากในจังหวัดนครสวรรค์ สระแก้ว และกาญจนบุรี เนื่องจากสภาพอากาศแห้งแล้ง ซึ่งเหมาะแก่การระบาดของหนอนกออ้อย แมลงหวี่ขาวอ้อย เป็นแมลงปากดูดระบาดในช่วงเดือน กรกฎาคม-ตุลาคม ถ้าฝนทิ้งช่วงติดต่อกันเป็นเวลานาน ในปี 2540-2541 ระบาดมากในจังหวัดนครราชสีมา ลพบุรี และกาญจนบุรี ปลวกอ้อย เป็นแมลงศัตรูใต้ดินที่สำคัญ จะพบในสภาพอากาศที่แห้งแล้งเช่น จังหวัดอุดรธานี กำแพงเพชร และกาญจนบุรี การเปลี่ยนแปลงในทางลดลง ด้วงหนวดยาวอ้อย เป็นแมลงใต้ดิน พบระบาดในสภาพดินร่วนปนทราย จะระบาดมากขึ้นในสภาพที่แห้งแล้ง แต่ในช่วง พ.ศ. 2540-2541 สภาพอากาศแห้งแล้งติดต่อกันเป็นเวลานาน ทำให้ตัวเต็มวัยด้วงหนวดยาวที่จะออกมาในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ของทุกปีมีปริมาณลดลง ทั้งนี้เนื่องจากความชื้นในดินไม่เพียงพอ ทำให้ดักแด้ไม่สามารถทะลุดินออกมาได้ พบการตายมากในจังหวัดชลบุรี และอุดรธานี (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. แมลงนูนหลวงอ้อย เป็นแมลงศัตรูใต้ดิน พบระบาดในแหล่งปลูกอ้อยของจังหวัดกาญจนบุรี ในช่วงต้นปี 2541 ซึ่งเป็นช่วงตัวเต็มวัยของแมลงนูนหลวงอ้อยจะออกมาจากดักแด้ที่อยู่ในดิน แต่จากสภาพอากาศแห้งแล้งทำให้ความร้อนภายในดินสูงเป็นผลให้ตัวเต็มวัยของแมลงนูนหลวงอ้อยออกมาตายที่ปากรู ประชากรของแมลงนูนหลวงอ้อยจึงลดลง
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element อ้อย
General subdivision ศัตรูพืช.
9 (RLIN) 353
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element อ้อย.
9 (RLIN) 353
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ศัตรูพืช
General subdivision สภาพภูมิอากาศ.
9 (RLIN) 355
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element แมลงศัตรูพืช
General subdivision การควบคุม.
9 (RLIN) 350
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title กีฏและสัตววิทยา
Related parts ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2541) หน้า 286-287
International Standard Serial Number 0125-3794
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.