การศึกษาชีววิทยาของด้วงถั่ว Callosobruchus maculatus F. (Coleoptera : Bruchidae) และแดนเบียนหนอน Dinarmus baslis Rondani (Hymenoptera : Pteromalidae) ในประเทศไทย / (Record no. 51)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04382nab a2200265 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000051
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150055.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1997 br 0 0tha
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-05160
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191113
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042107
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211704
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name อุ่นเรือน ศิริวานิชกุล.
9 (RLIN) 496
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การศึกษาชีววิทยาของด้วงถั่ว Callosobruchus maculatus F. (Coleoptera : Bruchidae) และแดนเบียนหนอน Dinarmus baslis Rondani (Hymenoptera : Pteromalidae) ในประเทศไทย /
Statement of responsibility, etc. อุ่นเรือน สิริวานิชกุล
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ด้วงถั่ว (Callosobruchus maculatus F.) เป็นแมลงศัตรูในโรงเก็บที่สำคัญของเมล็ดถั่วเขียวและถั่วชนิดต่าง ๆ ในประเทศไทย จากการศึกษาคุณลักษณะทางชีววิทยาพบว่าตัวเต็มวัยของด้วงถั่วตัวหนึ่งสามารถวางไข่ได้ 68-92 ฟอง ระยะไข่ใช้เวลา 5-7 วัน ระยะหนอนมีทั้งหมด 4 ระยะ ซึ่งแต่ละระยะใช้เวลาดังต่อไปนี้ 2-3 วัน, 2-3 วัน, 2-4 วัน และ 3-5 วัน ตามลำดับ การเจริญเติบโตของตัวหนอนศึกษาโดยใช้ความกว้างของหัวกระโหลกเป็นหลัก พบว่าอัตราส่วนการเจริญเติบโตทางเรขาคณิตโดยเฉลี่ยเท่ากับ 1.634 ระยะก่อนเข้าดักแด้ใช้เวลา 3-4 วัน และระยะดักแด้ใช้เวลา 4-5 วัน ตัวเต็มวัยเพศผู้และตัวเต็มวัยเพศเมียมีอายุขัย 5-7 วัน และ 5-8 วัน ตามลำดับ วงจรชีวิตของด้วงถั่วชนิดนี้นับตั้งแต่ระยะไข่ จนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัยใช้เวลาประมาณ 21-24 วัน ศัตรูธรรมชาติที่พบในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ แตนเบียนไข่ (Uscana semifumipennis Girault) และแตนเบียนหนอน (Dinarmus basalis Rondani) ซึ่งแตนเบียนหนอนชนิดนี้มีวงจรชีวิตตั้งแต่ระยะไข่จนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัย ดังนี้ แตนเบียนหนอนเพศผู้และเพศเมียมีวงจรชีวิตใช้เวลาทั้งสิ้น 12.027 + 2.291 วัน และ 12.055 + 2.978 วัน ตามลำดับ โดยแบ่งเป็นระยะไข่ ระยะหนอน และระยะดักแด้ ใช้เวลาในแต่ละระยะดังนี้ 21.6 + 3.864 ชั่วโมง 5.0 + 1.155 วัน และ 5.9 + 0.738 วัน ตามลำดับ ตัวเต็มวัยเพศผู้และตัวเต็มวัยเพศเมียของแตนเบียนหนอนมีอายุขัย 14.33 + 2.082 วัน และ 22.5 + 1.915 วัน ตามลำดับ
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ด้วงถั่ว.
9 (RLIN) 497
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element หนอน.
9 (RLIN) 498
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ศัตรูพืช.
9 (RLIN) 349
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ชีววิทยา
General subdivision การศึกษา.
9 (RLIN) 447
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title วิทยาศาสตร์ลาดกระบัง
Related parts ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2540) หน้า 36 - 48
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.