โปรตีนชีวภาพจากจุลินทรีย์ / (Record no. 519)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 06517nab a2200289 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000519
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150305.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th b 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-52060
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191121
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042115
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211707
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล.
9 (RLIN) 1336
245 10 - TITLE STATEMENT
Title โปรตีนชีวภาพจากจุลินทรีย์ /
Statement of responsibility, etc. สาโรจน์ ศิริศันสนียกุล, นันทพร พึ่งสังวร
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. จากภาวะการเพิ่มขึ้นของประชากร ทำให้มีผลกระทบที่ติดตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้นก็คือ ปัญหาของการขาดแคลนอาหารและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม และจากสาเหตุนี้ทำให้คนเรามีความต้องการปริมาณอาหารโปรตีนเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมื่ออาหารโปรตีนจากแหล่งพืชและสัตว์ยังมีข้อจำกัดสูงด้านราคา ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิต และพื้นที่จำนวนมากสำหรับการเพาะปลูกการเลี้ยงสัตว์ ฉะนั้นความรู้และความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพจึงเป็นทางออกที่ดีในการแก้ปัญหาของการผลิตอาหารโปรตีนให้กับมนุษย์เรา (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. จึงเกิดแนวคิดที่จะนำเอาจุลินทรีย์ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาใช้เป็นกลไกสำคัญในการผลิตแหล่งอาหารโปรตีนชนิดใหม่เพื่อใช้แหล่งทดแทนหรือเสริมอาหารโปรตีนจากแหล่งพืชและสัตว์ทั้งในรูปแบบของอาหารมนุษย์โดยตรง หรือแปรรูปเป็นอาหารสัตว์ทางอ้อมที่ใช้สำหรับเลี้ยงสัตว์เพื่อลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตอาหารโปรตีนจากสัตว์ให้มีราคาถูกลง โปรตีนเซลล์เดียว คือ เซลล์ของจุลินทรีย์ที่ถูกทำให้แห้งเพื่อนำไปใช้เป็นแหล่งโปรตีนในอาหารของมนุษย์และสัตว์ (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สามารถผลิตได้จากจุลินทรีย์หลายประเภท ได้แก่ ยีสต์ แบคทีเรีย และสาหร่าย ซึ่งจุลินทรีย์แต่ละประเภทนั้นจะมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของเซลล์ในปริมาณที่แตกต่างกัน การผลิตยีสต์โปรตีนเซลล์เดียว วัตถุดิบที่ใช้เพาะเลี้ยงยีสต์ประกอบด้วยแหล่งคาร์บอนไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ซัลเฟอร์ และธาตุอาหารบางชนิดที่จำเป็นต่อการเติบโต ยีสต์สามารถเติบโตได้ดีบนสารอาหารทั้งที่เป็นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน อันได้แก่ แป้งข้าวโพด แป้ง มันสำปะหลัง และแป้งมันฝรั่ง เป็นต้น (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. นอกจากนี้ยีสต์ยังสามารถเติบโตได้โดยใช้ของเสียที่มีน้ำตาลเป็นองค์ประกอบ แต่การผลิตโปรตีนเซลล์เดียวจากผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจะไม่ใช้เป็นอาหารมนุษย์ เนื่องจากอาจมีองค์ประกอบทางเคมีของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นอันตรายตกค้างปะปนอยู่ได้ อย่างไรก็ตาม วัตถุดิบที่นิยมใช้กันมากก็คือ กากน้ำตาลที่ได้มาจากอ้อยหรือหัวผักกาดหวานจากโรงงานผลิตน้ำตาล การผลิตโปรตีนเซลล์เดียวที่เหมาะสมควรเลือกใช้วัตถุดิบที่มีราคาถูกและมีอยู่เป็นปริมาณมากในท้องถิ่นนั้น
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element เทคโนโลยีชีวภาพ.
9 (RLIN) 1337
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element โปรตีนชีวภาพ.
9 (RLIN) 1338
700 0# - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name นันทพร พึ่งสังวร.
9 (RLIN) 1339
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title ส่งเสริมเทคโนโลยี
Related parts ปีที่ 26 ฉบับที่ 148 (ธันวาคม 2542 - มกราคม 2543) หน้า 143 - 149
International Standard Serial Number 0859-1156
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.