พืชตัดต่อสารพันธุกรรม มหันตภัยซ่อนเร้น / (Record no. 526)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 05068nab a2200289 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000526
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150307.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th br 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-52760
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191121
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042115
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211707
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name เดือนเพ็ญ ลิ้มศรีตระกูล.
9 (RLIN) 1352
245 10 - TITLE STATEMENT
Title พืชตัดต่อสารพันธุกรรม มหันตภัยซ่อนเร้น /
Statement of responsibility, etc. เดือนเพ็ญ ลิ้มศรีตระกูล
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. พืชตัดต่อสารพันธุกรรม (Transgenic Plant) เป็นพืชที่เกิดขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี " พันธุวิศวกรรม" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีชีวภาพ ในการปรับปรุงพันธุ์ โดยการเคลื่อนย้ายยีนหรือพันธุกรรมที่มีคุณสมบัติตามต้องการ อาจเป็นพืชต่างชนิดต่างพันธุ์ไปจนถึง (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เข้าไปไว้พืชชนิดหนึ่งด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างพืชแบบใหม่ หรือแปลกใหม่ ที่มีคุณสมบัติตามต้องการขึ้นมา ปัจจุบันประเทศที่มีการศึกษาพัฒนาและปลูกพืชตัดต่อสารรพันธุกรรมเพื่อการค้ามากที่สุด คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย แคนาดา และเบลเยี่ยม โดยหลังจาก(มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. มีการนำพืชตัดต่อสารพันธุกรรมออกไปทดสอบในสภาพธรรมชาติ ครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอมริกา และฝรั่งเศส เมื่อปี 2529 ขณะนี้มีพืชตัดต่อสารพันธุกรรมที่ทำการทดสอบในสภาพธรรมมชาติแล้ว 56 ชนิด และมีส่วนหนึ่งได้รับอนุญาตให้ผลิตเพื่อการค้า สำหรับประเทศไทย(มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. มีการประกาศใช้พืชตัดต่อ สารพันธุกรรม 40 ชนิด เป็นสิ่งต้องห้ามตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องกำหนดพืชและศัตรูพืช หรือพาหะจากแหล่งที่กำหนดเป็นสิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้น และเงื่อนไขตามพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ 2507(ฉบับที่ 2) พ.ศ 2537(มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สาเหตุที่มีการประกาศให้พืชตัดต่อสารพันธุกรรม 40 ชนิดเป็นสิ่งต้องห้ามเนื่องจาก ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพนี้ ก่อให้เกิดความกังวลในหมู่สาธาณะและนักวิจัยในเรื่องความปลอดภัยในการควบคุมภยันตรายซึ่งอาจเกิดขึ้นเช่น พืชที่ได้รับการ(มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ตัดต่อสารพันธุกรรม โดยมีจุลินทรย์เป็นสาเหตุของโรคพืชเข้าเกี่ยวข้อง หรือการตัดต่อสารพันธุกรรมจากจุลินทรย์ ที่มีควาามสามารถในการผลิตสารทำลายแมลง
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element พืช
General subdivision การปรับปรุงพันธุ์.
9 (RLIN) 1354
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title โลกสีเขียว
Related parts ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2542) หน้า 24 - 38
International Standard Serial Number 0858-4761
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.