กระซู่ (Record no. 701)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04757nab a2200229 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000701
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150354.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th tr 0 0tha d
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-70260
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191124
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042118
Level of effort used to assign classification VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
Transcribing agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
245 00 - TITLE STATEMENT
Title กระซู่
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. กระซู่เป็นสัตว์ในวงศ์ RHINO CEROTIDAE จัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน 9 ชนิด ของประเทศไทย โดยจัดไว้ในพวกที่ใกล้สูญพันธ์ อันเนื่องมาจากการถูกล่าเพื่อเอานอและอวัยวะทุกส่วนของตัว ซึ่งเรียกกันว่า มีฤทธิ์ ทางเป็นยาเป็นสัตว์จำพวกเดียวกับแรด แต่มีขนาดลำตัวเล็กกว่า มีหนังหนาและขนขึ้นปกคลุมทั่วตัวโดยเฉพาะในตัวอายุน้อย ซึ่งขนนี้จะลดน้อยลงเมื่อมีอายุมากขึ้น สีลำตัวโดยทั่วไปออกสีเทาคล้ายสีขี้เถ้า ด้านหลังลำตัวจะปรากฏรอบพับของหนังเพียงพับเดียว ตราบริเวณด้านหลังของขาคู่หน้าที้งสองเพศจะมีนอ 2 นอ นอหน้ามีความยาวประมาณ 25 ซม. นอหลังยาวไม่เกิน 10 ซม. หรือเป็นเพียงตุ่มนูนขึ้นมาในตัวเมีย กระซู่ปีนเขาได้เก่งมีประสาทในการรับกลิ่นดีมาก ออกหากินในเวลากลางคืน อาหารได้แก่ ใบไม้ กิ่งไม้ และผลไม้ป่าบางชนิด (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ปกติกระซู่จะใช้ชีวิตโดดเดี่ยวยกเว้นฤดูผสมพันธ์หรือตัวเมียเลี้ยงลูกอ่อนโดยตกลูกครั้งละ 1 ตัว มีระยะตั้งท้อง 7-8 เดือน ในที่เลี้ยงกระซู๋มีอายุยืนถึง 32 ปี จะอาศัยตามป่าเขาสูงที่มีหนาลบทึบจะลงมาอยู่ในป่าที่ราบต่ำเฉพาะในตอนปลายฤดูฝนซ้ำในระยะนั้นมีปลักและน้ำอยู่ทั่วไป กระซู่มีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นอัสสัมในอินเดีย บังกลาเทศ พม่า ไทย เวียตนาม มาลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ส่วนในประเทศไทยมีรายงานการพบในบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหลายแห่ง อาทิ ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี ทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี และคลองแสน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และในบริเวณอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง เช่น แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา และบริเวณป่ารอยต่อระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element กระซู่.
9 (RLIN) 1578
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element การอนุรักษ์สัตว์ป่า.
9 (RLIN) 609
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title เส้นทางสีเขียว
Related parts ฉบับที่ 4 (มิถุนายน-กันยายน 2542) หน้า 34
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials
Source of classification or shelving scheme

No items available.