การค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนตอนใต้

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การค้าระหว่างประเทศ | ไทย -- การค้ากับต่างประเทศ In: นโยบายพลังงาน ฉบับที่ 47 (มกราคม - มีนาคม 2543 ) หน้า 3-11Summary: คณะผู้แทนของประเทศไทยได้เดินทางไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการวันที่ 11 - 14 พฤศจิกายน 2541 เพื่อลงนามการบันทึกความเข้าใจการรับซื้อไฟฟ้าจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยคณะผู้แทนของทั้งสองประเทศได้ตกลงที่จะขยายความร่วมมือทางด้านพลังงานให้ครอบคลุมถึงการส่งท่อน้ำมันเชื่อมต่อผ่านประเทศไทย (มีต่อ)Summary: ผ่านประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาวขึ้นไปยังมณฑลยูนนานของสาธารณรัฐประชาชนจีน ทาง สนง. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจึงได้ว่าจ้างบริษัท Petroleum Economics Limited ( PEL ) (มีต่อ)Summary: เพื่อทำการศึกษารายละเอียดของเส้นทางต่างๆ ที่สามารถเลือกใช้ในการขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่ผลิตในประเทศไทยไปยังประเทศจีนตอนใต้ โดยได้ศึกษาจากเส้นทางการขนส่งต่างๆ ดังนี้ 1. การขนส่งโดยรถบรรทุกน้ำมัน 2. การขนส่งทางท่อน้ำมัน 3. การขนส่งโดยตู้รถไฟบรรทุกน้ำมัน 4. การขนส่งทางแม่น้ำ (มีต่อ)Summary: 5. การขนส่งน้ำมันทางทะเล การศึกษาการค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนตอนใต้นั้น เพื่อให้แผนการดำเนินงานที่ได้ประสิทธิผล จีงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน รวมถึงความร่วมมือระหว่างประเทศเป็นสำคัญด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

คณะผู้แทนของประเทศไทยได้เดินทางไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเป็นทางการวันที่ 11 - 14 พฤศจิกายน 2541 เพื่อลงนามการบันทึกความเข้าใจการรับซื้อไฟฟ้าจากสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยคณะผู้แทนของทั้งสองประเทศได้ตกลงที่จะขยายความร่วมมือทางด้านพลังงานให้ครอบคลุมถึงการส่งท่อน้ำมันเชื่อมต่อผ่านประเทศไทย (มีต่อ)

ผ่านประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาวขึ้นไปยังมณฑลยูนนานของสาธารณรัฐประชาชนจีน ทาง สนง. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจึงได้ว่าจ้างบริษัท Petroleum Economics Limited ( PEL ) (มีต่อ)

เพื่อทำการศึกษารายละเอียดของเส้นทางต่างๆ ที่สามารถเลือกใช้ในการขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่ผลิตในประเทศไทยไปยังประเทศจีนตอนใต้ โดยได้ศึกษาจากเส้นทางการขนส่งต่างๆ ดังนี้ 1. การขนส่งโดยรถบรรทุกน้ำมัน 2. การขนส่งทางท่อน้ำมัน 3. การขนส่งโดยตู้รถไฟบรรทุกน้ำมัน 4. การขนส่งทางแม่น้ำ (มีต่อ)

5. การขนส่งน้ำมันทางทะเล การศึกษาการค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนตอนใต้นั้น เพื่อให้แผนการดำเนินงานที่ได้ประสิทธิผล จีงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน รวมถึงความร่วมมือระหว่างประเทศเป็นสำคัญด้วย