การลดน้ำเสียที่จุดเกิดเหตุได้กำไรมากกว่าการบำบัดน้ำเสีย / ปราณี พันธุมสินชัย

By: ปราณี พันธุมสินชัยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): มลพิษทางน้ำ | การป้องกันมลพิษ | SCI-TECH In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 28 ฉบับที่ 157 (มิถุนายน - กรกฎาคม 2544) หน้า 52-53Summary: แนวทางสำคัญในการจัดการมลพิษด้านสิ่งแวดล้อมมี 2 แนวทางคือ การควบคุมโดยรัฐ และแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์หรือด้านการตลาด ปัจจุบันแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ได้รับความสนใจมาก โดยมีแนวความคิดว่ามลพิษเป็นสิ่งที่โรงงานทำไม่ให้เกิดได้ และมลพิษ เป็นต้นทุนที่สูญเสีย ถ้าเขาลดมลพิษได้เขาจะได้กำไร เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์ คือการลดน้ำเสียที่จุดเกิดเหตุ โดยการนำระบบบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อมเข้ามาใช้ในโรงงาน และการผลิตที่สะอาดเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานประกอบด้วย 1.การป้องกันมลพิษ 2. การใช้เทคโนโลยีที่สะอาด 3.การลดการเกิดของเสียของโรงงานทำได้หลายวิธีเช่น เปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิต ใช้ระบบอัตโนมัติหรืออุปกรณ์ควบคุมที่ช่วยลดมลพิษ และผลผลิตที่ด้อยคุณภาพ (มีต่อ)Summary: การลดน้ำเสียที่จุดเกิดเหตุอยู่ในหลักการดำเนินงานของการป้องกันมลพิษ ซึ่งได้กลายเป็นเทคโนโลยีของการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม ผลดีที่เกิดขึ้นคือ กระบวนการสร้างจิตสำนึกการป้องกันมลพิษ ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ 3 ระดับ คือ จากแนวความคิดเดิมว่า มลพิษเป็นสิ่งที่ทำให้เขาเสียเงินลงทุนเพิ่มขึ้นในการสร้างระบบบำบัด 2.เมื่อรู้ว่ามลพิษเป็นต้นทุนที่สูญเสีย 3.ในที่สุดผู้ประกอบการจะเป็นแนวความคิด Pollution Prevention เป็นการลดต้นทุน แนวความคิด PP ไม่ได้ใช้เฉพาะในโรงงานเท่านั้น แต่สามารถนำไปใช้ในบ้าน โรงเรียน แหล่งท่องเที่ยว แล้วสร้างจิตสำนึกป้องกันมลพิษถึงทุกชุมชนในที่สุดจะไม่มีน้ำเสียหรือมลพิษออกจากชุมชนมาให้เราบำบัดอีกเลย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

แนวทางสำคัญในการจัดการมลพิษด้านสิ่งแวดล้อมมี 2 แนวทางคือ การควบคุมโดยรัฐ และแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์หรือด้านการตลาด ปัจจุบันแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ได้รับความสนใจมาก โดยมีแนวความคิดว่ามลพิษเป็นสิ่งที่โรงงานทำไม่ให้เกิดได้ และมลพิษ เป็นต้นทุนที่สูญเสีย ถ้าเขาลดมลพิษได้เขาจะได้กำไร เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์ คือการลดน้ำเสียที่จุดเกิดเหตุ โดยการนำระบบบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อมเข้ามาใช้ในโรงงาน และการผลิตที่สะอาดเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานประกอบด้วย 1.การป้องกันมลพิษ 2. การใช้เทคโนโลยีที่สะอาด 3.การลดการเกิดของเสียของโรงงานทำได้หลายวิธีเช่น เปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิต ใช้ระบบอัตโนมัติหรืออุปกรณ์ควบคุมที่ช่วยลดมลพิษ และผลผลิตที่ด้อยคุณภาพ (มีต่อ)

การลดน้ำเสียที่จุดเกิดเหตุอยู่ในหลักการดำเนินงานของการป้องกันมลพิษ ซึ่งได้กลายเป็นเทคโนโลยีของการบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม ผลดีที่เกิดขึ้นคือ กระบวนการสร้างจิตสำนึกการป้องกันมลพิษ ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ 3 ระดับ คือ จากแนวความคิดเดิมว่า มลพิษเป็นสิ่งที่ทำให้เขาเสียเงินลงทุนเพิ่มขึ้นในการสร้างระบบบำบัด 2.เมื่อรู้ว่ามลพิษเป็นต้นทุนที่สูญเสีย 3.ในที่สุดผู้ประกอบการจะเป็นแนวความคิด Pollution Prevention เป็นการลดต้นทุน แนวความคิด PP ไม่ได้ใช้เฉพาะในโรงงานเท่านั้น แต่สามารถนำไปใช้ในบ้าน โรงเรียน แหล่งท่องเที่ยว แล้วสร้างจิตสำนึกป้องกันมลพิษถึงทุกชุมชนในที่สุดจะไม่มีน้ำเสียหรือมลพิษออกจากชุมชนมาให้เราบำบัดอีกเลย