กองทุนสิ่งแวดล้อม ความหวังใหม่อุตสาหกรรมไทย

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | มลพิษ In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 28 ฉบับที่ 157 (มิถุนายน - กรกฎาคม 2544) หน้า 56-58Summary: กองทุนสิ่งแวดล้อม เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. 2535 เพื่อสนับสนุนภาครัฐและภาคเอกชน ในการจัดให้มีระบบบำบัดน้ำเสีย อากาศเสีย ระบบกำจัดของเสียหรืออุปกรณ์อื่นใด เพื่อควบคุมบำบัดหรือขจัดมลพิษ รวมทั้งให้การสนับสนุนการดำเนินกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยหลักการสำคัญของการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ ดังกล่าวจะมุ่งใช้จ่ายในลักษณะที่จะสามารถมีเงินทุนหมุนเวียนคืนกลับเข้ากองทุนฯ ได้ ในรูปเงินให้กู้ดอกเบี้ยต่ำเป็นลำดับแรก สำหรับเงินอุดหนุนนั้น (มีต่อ)Summary: จะให้เฉพาะกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนและไม่สามารถแสวงหาเงินจากแหล่งอื่นได้ การดำเนินการเพื่อการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อมมีคณะกรรมการจำนวน 2 ชุดคือ 1. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2. คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังได้มีการกำหนดหน้าที่ผู้จัดการกองทุน 2 ฝ่ายคือ 1. กรมบัญชีกลาง 2. ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) 3. บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (IFCT ) (มีต่อ)Summary: ผลการดำเนินงานกองทุน กำหนดคือ การสนับสนุนเงินอุดหนุนจะให้ในกรณีที่มีความจำเป็นและไม่สามารถแสวงหาเงินจากแหล่งอื่นได้ โครงการที่มีความสำคัญเร่งด่วนและได้รับการสนับสนุนคือ 1.โครงการแผนปฏิบัติการภายใต้เขตควบคุมมลพิษ 2.โครงการแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม 3.การดำเนินงานขององค์กรเอกชน 4.โครงการเพื่อจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสียหรือน้ำเสีย การให้ความช่วยเหลือภาคเอกชน ที่เสนอขอรับการสนับสนุนเงินกู้จากกองทุนสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)Summary: โดยมีประเภทของโครงการดังนี้ 1.โครงการลักษณะผู้รับจ้างให้บริการได้แก่ โครงการศูนย์บริการจัดการกำจัดกากอุตสาหกรรม โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย 2.โครงการของเอกชนที่มีหน้าที่ตามกฎหมาย เช่น โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียของบริษัทเอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด โครงการก่อสร้างระบบบำบัดอากาศเสียของบริษัท โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดอากาศเสีย (มีต่อ)Summary: ปัญหาการปล่อยกู้ภาคเอกชน 1.เงื่อนไขการปล่อยกู้ถูกจำกัดโดยเทคโนโลยี 2.ดอกเบี้ยเงินกู้คงที่ 8.5% 3.การปล่อยกู้ไม่มีแรงจูงใจ 4.คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม อนาคตของกองทุนสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำเสียเป็นเทคโนโลยีที่ยากยิ่งกว่าบางระบบต้องมีห้อง LAB และการเลี้ยงแบคทีเรีย ซับซ้อนกว่า การประหยัดไฟฟ้ากลับไม่มีความช่วยเหลือด้านที่ปรึกษา กองทุนสิ่งแวดล้อมควรให้ความช่วยเหลือครบวงจรอย่างแท้จริง ซึ่งหน้าที่นี้จะต้องดำเนินงานโดยรัฐบาล
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กองทุนสิ่งแวดล้อม เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. 2535 เพื่อสนับสนุนภาครัฐและภาคเอกชน ในการจัดให้มีระบบบำบัดน้ำเสีย อากาศเสีย ระบบกำจัดของเสียหรืออุปกรณ์อื่นใด เพื่อควบคุมบำบัดหรือขจัดมลพิษ รวมทั้งให้การสนับสนุนการดำเนินกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยหลักการสำคัญของการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ ดังกล่าวจะมุ่งใช้จ่ายในลักษณะที่จะสามารถมีเงินทุนหมุนเวียนคืนกลับเข้ากองทุนฯ ได้ ในรูปเงินให้กู้ดอกเบี้ยต่ำเป็นลำดับแรก สำหรับเงินอุดหนุนนั้น (มีต่อ)

จะให้เฉพาะกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนและไม่สามารถแสวงหาเงินจากแหล่งอื่นได้ การดำเนินการเพื่อการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อมมีคณะกรรมการจำนวน 2 ชุดคือ 1. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2. คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังได้มีการกำหนดหน้าที่ผู้จัดการกองทุน 2 ฝ่ายคือ 1. กรมบัญชีกลาง 2. ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) 3. บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (IFCT ) (มีต่อ)

ผลการดำเนินงานกองทุน กำหนดคือ การสนับสนุนเงินอุดหนุนจะให้ในกรณีที่มีความจำเป็นและไม่สามารถแสวงหาเงินจากแหล่งอื่นได้ โครงการที่มีความสำคัญเร่งด่วนและได้รับการสนับสนุนคือ 1.โครงการแผนปฏิบัติการภายใต้เขตควบคุมมลพิษ 2.โครงการแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม 3.การดำเนินงานขององค์กรเอกชน 4.โครงการเพื่อจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสียหรือน้ำเสีย การให้ความช่วยเหลือภาคเอกชน ที่เสนอขอรับการสนับสนุนเงินกู้จากกองทุนสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)

โดยมีประเภทของโครงการดังนี้ 1.โครงการลักษณะผู้รับจ้างให้บริการได้แก่ โครงการศูนย์บริการจัดการกำจัดกากอุตสาหกรรม โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย 2.โครงการของเอกชนที่มีหน้าที่ตามกฎหมาย เช่น โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียของบริษัทเอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด โครงการก่อสร้างระบบบำบัดอากาศเสียของบริษัท โครงการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดอากาศเสีย (มีต่อ)

ปัญหาการปล่อยกู้ภาคเอกชน 1.เงื่อนไขการปล่อยกู้ถูกจำกัดโดยเทคโนโลยี 2.ดอกเบี้ยเงินกู้คงที่ 8.5% 3.การปล่อยกู้ไม่มีแรงจูงใจ 4.คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม อนาคตของกองทุนสิ่งแวดล้อม ระบบบำบัดน้ำเสียเป็นเทคโนโลยีที่ยากยิ่งกว่าบางระบบต้องมีห้อง LAB และการเลี้ยงแบคทีเรีย ซับซ้อนกว่า การประหยัดไฟฟ้ากลับไม่มีความช่วยเหลือด้านที่ปรึกษา กองทุนสิ่งแวดล้อมควรให้ความช่วยเหลือครบวงจรอย่างแท้จริง ซึ่งหน้าที่นี้จะต้องดำเนินงานโดยรัฐบาล