ลอจิสติกส์และซัพลายเชน : ความเหมือนที่แตกต่าง / วิทยา สุหฤทดำรง

By: วิทยา สุหฤทดำรงCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ลอจิติกส์ In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 28 ฉบับที่ 157 (มิถุนายน-กรกฎาคม) หน้า 133-136Summary: ลอจิสติกส์คือ กระบวนการวางแผนการนำไปใช้งานและควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพของการไหลและการเคลื่อนที่และถาวรจัดเก็บของวัตถุดิบ สินค้าคงคลังระหว่างกระบวนการสินค้าสำเร็จรูปและข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดเริ่มต้นของการจัดหาจนถึงจุดของการบริโภคโดยมีการมุ่งหมายที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า ลักษณะของลอจิสติกส์ดังนี้คือกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการไหลของวัตถุดิบและสินค้าข้อมูลและการชำระเงินระหว่างผู้จัดส่ง วัตถุดิบ ผู้ผลิต และผู้บริโภค (มีต่อ)Summary: ตัวอย่างของกิจกรรมคือการจัดหา การจัดซื้อ การบริหารวัตถุดิบ การวางแผนตารางการผลิต การจัดการคลังสินค้า การจัดการขนส่งส่วนกิจกรรมการแปรรูปหรือกระบวนการผลิตดังนั้น เราสามารถมองได้ว่ากิจกรรมลอจิสติกส์เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนที่ของวัตถุดิบ กระบวนการผลิต หรือกระบวนการในโซ่คุณค่า หรือโซ่อุปทาน คือการเอาระบบลอจิกติกส์ของแต่ละบริษัทมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้การไหลของวัตถุดิบและสินค้าเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ (มีต่อ)Summary: เมื่อเปรียบเทียบลอจิกติกส์และโซ่อุปทานเสริมซึ่งกันและกัน แนวคิดลอจิกติกส์และการจัดการโซ่อุปทานไม่ใช่เป็นการจัดการกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการธุรกิจ แต่จะเป็นการบูรณาการหรือประสานรวมกิจกรรมทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อจุดมุ่งหมายเดียว อันจะเป็นประโยชน์ทางธุรกิจต่อองค์กร
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ลอจิสติกส์คือ กระบวนการวางแผนการนำไปใช้งานและควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพของการไหลและการเคลื่อนที่และถาวรจัดเก็บของวัตถุดิบ สินค้าคงคลังระหว่างกระบวนการสินค้าสำเร็จรูปและข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดเริ่มต้นของการจัดหาจนถึงจุดของการบริโภคโดยมีการมุ่งหมายที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า ลักษณะของลอจิสติกส์ดังนี้คือกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการไหลของวัตถุดิบและสินค้าข้อมูลและการชำระเงินระหว่างผู้จัดส่ง วัตถุดิบ ผู้ผลิต และผู้บริโภค (มีต่อ)

ตัวอย่างของกิจกรรมคือการจัดหา การจัดซื้อ การบริหารวัตถุดิบ การวางแผนตารางการผลิต การจัดการคลังสินค้า การจัดการขนส่งส่วนกิจกรรมการแปรรูปหรือกระบวนการผลิตดังนั้น เราสามารถมองได้ว่ากิจกรรมลอจิสติกส์เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนที่ของวัตถุดิบ กระบวนการผลิต หรือกระบวนการในโซ่คุณค่า หรือโซ่อุปทาน คือการเอาระบบลอจิกติกส์ของแต่ละบริษัทมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้การไหลของวัตถุดิบและสินค้าเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ (มีต่อ)

เมื่อเปรียบเทียบลอจิกติกส์และโซ่อุปทานเสริมซึ่งกันและกัน แนวคิดลอจิกติกส์และการจัดการโซ่อุปทานไม่ใช่เป็นการจัดการกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการธุรกิจ แต่จะเป็นการบูรณาการหรือประสานรวมกิจกรรมทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อจุดมุ่งหมายเดียว อันจะเป็นประโยชน์ทางธุรกิจต่อองค์กร