อุปกรณ์ควบคุมกำลังมอเตอร์ (Motor Load Control)

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | มอเตอร์ | เครื่องจักรกล In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2543) หน้า 85-87Summary: การเลิกใช้อุปกรณ์บางอย่างเพื่อเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรทำได้หลายวิธี เช่น การเปลี่ยนมอเตอร์เป็นมอเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นต้น แต่บางอย่างก็ทำไม่ได้ เช่น ในกระบวนการผลิตที่ต้องทำงานอย่างต่อเนื่อง บางครั้งการเปลี่ยนอุปกรณ์โดยที่อุปกรณ์เดิมยังไม่ชำรุดหรือเสียหายก็จะเป็นการไม่เหมาะสม ดังนั้นการติดอุปกรณ์เสริม (Retrofit) เข้าไปเพื่อช่วยให้เครื่องเดิมใช้พลังงาน (Input) ลดลง โดยที่การทำงานของเครื่องจักรนั้นๆยังคงเดิม (มีต่อ)Summary: จึงเป็นอีกทางเลือกที่น่าสนใจไม่น้อย อุปกรณ์ควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าของมอเตอร์เหนี่ยวนำ เริ่มใช้กันแพร่หลายทั่วโลก เพราะเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องจักรต่างๆล้วนมีมอเตอร์เป็นส่วนประกอบทุกประเภท มอเตอร์ทุกตัวออกแบบมาเพื่อขับน้ำหนักได้เต็มพิกัดค่าหนึ่งในหลายๆ กรณีมอเตอร์จะไม่ได้ทำงานที่เต็มพิกัดความสามารถ (Full Load) การลดแรงดันไฟจะช่วยประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าของมอเตอร์ในสภาวะการทำงานต่ำกว่าพิกัดมากๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะที่ไม่มีนำหนักติดกับมอเตอร์เลย (No Load) (มีต่อ)Summary: การทำงานโดยการตรวจสอบสภาพ Load ในขณะนั้น ๆ และจ่ายพลังงานให้กับมอเตอร์เท่าที่ Load ต้องารไม่ใช้มอเตอร์เรียกร้องเมื่อ Load มีค่าน้อย ๆ อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์จะลดพลังงานไฟฟ้าที่ช่วยให้กับมอเตอร์ลง และพื้นที่ที่ Load เพิ่มขึ้น อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ก็จะปรับช่วยพลังงานไฟฟ้าให้ มากขึ้น อัตราการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเมื่อใช้อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ประเภทนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง จึงไม่เหมือนกับอุปกรณ์ประหยัดพลังงานอื่นๆ (มีต่อ)Summary: ที่สามารถชี้ชัดลงไปได้ว่าประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้เท่าไหร่ จุดเด่นของอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ประเภทนี้คือ เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งเพิ่มเติมผู้ใช้ไม่ต้องเปลี่ยนเครื่องจักรหรือมอเตอร์ที่มีอยู่ เช่นเดียวกับอุปกรณ์ประหยัดพลังงานอื่นๆ ก่อนทำการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์นี้ จะต้องทำการวิเคราะห์สภาพการใช้งานของมอเตอร์ก่อน เพื่อความเหมาะสมในการใช้งานและคุ้มค่าที่สุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การเลิกใช้อุปกรณ์บางอย่างเพื่อเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรทำได้หลายวิธี เช่น การเปลี่ยนมอเตอร์เป็นมอเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นต้น แต่บางอย่างก็ทำไม่ได้ เช่น ในกระบวนการผลิตที่ต้องทำงานอย่างต่อเนื่อง บางครั้งการเปลี่ยนอุปกรณ์โดยที่อุปกรณ์เดิมยังไม่ชำรุดหรือเสียหายก็จะเป็นการไม่เหมาะสม ดังนั้นการติดอุปกรณ์เสริม (Retrofit) เข้าไปเพื่อช่วยให้เครื่องเดิมใช้พลังงาน (Input) ลดลง โดยที่การทำงานของเครื่องจักรนั้นๆยังคงเดิม (มีต่อ)

จึงเป็นอีกทางเลือกที่น่าสนใจไม่น้อย อุปกรณ์ควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าของมอเตอร์เหนี่ยวนำ เริ่มใช้กันแพร่หลายทั่วโลก เพราะเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องจักรต่างๆล้วนมีมอเตอร์เป็นส่วนประกอบทุกประเภท มอเตอร์ทุกตัวออกแบบมาเพื่อขับน้ำหนักได้เต็มพิกัดค่าหนึ่งในหลายๆ กรณีมอเตอร์จะไม่ได้ทำงานที่เต็มพิกัดความสามารถ (Full Load) การลดแรงดันไฟจะช่วยประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าของมอเตอร์ในสภาวะการทำงานต่ำกว่าพิกัดมากๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะที่ไม่มีนำหนักติดกับมอเตอร์เลย (No Load) (มีต่อ)

การทำงานโดยการตรวจสอบสภาพ Load ในขณะนั้น ๆ และจ่ายพลังงานให้กับมอเตอร์เท่าที่ Load ต้องารไม่ใช้มอเตอร์เรียกร้องเมื่อ Load มีค่าน้อย ๆ อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์จะลดพลังงานไฟฟ้าที่ช่วยให้กับมอเตอร์ลง และพื้นที่ที่ Load เพิ่มขึ้น อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ก็จะปรับช่วยพลังงานไฟฟ้าให้ มากขึ้น อัตราการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเมื่อใช้อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ประเภทนี้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง จึงไม่เหมือนกับอุปกรณ์ประหยัดพลังงานอื่นๆ (มีต่อ)

ที่สามารถชี้ชัดลงไปได้ว่าประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้เท่าไหร่ จุดเด่นของอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ประเภทนี้คือ เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งเพิ่มเติมผู้ใช้ไม่ต้องเปลี่ยนเครื่องจักรหรือมอเตอร์ที่มีอยู่ เช่นเดียวกับอุปกรณ์ประหยัดพลังงานอื่นๆ ก่อนทำการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์นี้ จะต้องทำการวิเคราะห์สภาพการใช้งานของมอเตอร์ก่อน เพื่อความเหมาะสมในการใช้งานและคุ้มค่าที่สุด