วัสดุยาแนวรอยต่อในงานก่อสร้าง / ชวลิต เรืองประโคน

By: ชวลิต เรืองประโคนCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง In: ข่าวช่าง ปีที่ 33 ฉบับที่ 390 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2549) หน้า 83-85Summary: รอยต่อที่พบส่วนใหญ่ในงานก่อสร้างเกิดขึ้นมาจากความต้องการที่จะให้การก่อสร้างทำได้ง่ายขึ้นโดยที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในด้านโครงสร้าง รอยต่อชนิดต่างๆ ที่พบในโครงสร้างนั้นมีดังนี้ 1.รอยต่อก่อสร้าง เป็นรอยต่อที่เกิดจากการเทคอนกรีตไม่ต่อเนื่อง 2.รอยต่อเพื่อการหดตัว เป็นรอยต่อที่เกิดจากการกำหนดให้คอนกรีตแตกร้าวในตำแหน่งที่ต้องการ 3.รอยต่อเพื่อการขยายตัว คือ รอยต่อที่แยกชิ้นส่วนขององค์อาคารเพื่อการขยายตัวหรือหดตัว 4.รอยต่อเชื่อม เป็นรอยต่อที่ระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างต่างชนิดกันทั้งวัสดุและหน้าที่ เมื่อเกิดกรณีเช่นนี้ควรจะมีวิธีป้องกัน โดยการใช้วัสดุยาแนวรอยต่อหรือรอยต่อก่อสร้าง ซึ่งวัสดุที่นำมาใช้ควรจะประกอบด้วย 1.โพลิเมอร์ 2.พลาสติไซเซอร์ 3.สารเติมแต่ง 4.เม็ดสี 5.สารปรับปรุงความข้นเหลว 6.สารที่ทำให้แห้งตัว 7.สารเพิ่มการยึดเกาะ และสารเร่ง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

รอยต่อที่พบส่วนใหญ่ในงานก่อสร้างเกิดขึ้นมาจากความต้องการที่จะให้การก่อสร้างทำได้ง่ายขึ้นโดยที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในด้านโครงสร้าง รอยต่อชนิดต่างๆ ที่พบในโครงสร้างนั้นมีดังนี้ 1.รอยต่อก่อสร้าง เป็นรอยต่อที่เกิดจากการเทคอนกรีตไม่ต่อเนื่อง 2.รอยต่อเพื่อการหดตัว เป็นรอยต่อที่เกิดจากการกำหนดให้คอนกรีตแตกร้าวในตำแหน่งที่ต้องการ 3.รอยต่อเพื่อการขยายตัว คือ รอยต่อที่แยกชิ้นส่วนขององค์อาคารเพื่อการขยายตัวหรือหดตัว 4.รอยต่อเชื่อม เป็นรอยต่อที่ระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างต่างชนิดกันทั้งวัสดุและหน้าที่ เมื่อเกิดกรณีเช่นนี้ควรจะมีวิธีป้องกัน โดยการใช้วัสดุยาแนวรอยต่อหรือรอยต่อก่อสร้าง ซึ่งวัสดุที่นำมาใช้ควรจะประกอบด้วย 1.โพลิเมอร์ 2.พลาสติไซเซอร์ 3.สารเติมแต่ง 4.เม็ดสี 5.สารปรับปรุงความข้นเหลว 6.สารที่ทำให้แห้งตัว 7.สารเพิ่มการยึดเกาะ และสารเร่ง

Share