อำนาจรัฐไทยในสายการปฏิรูปการเมือง / พีระพจน์ รัตนมาลี

By: พีระพจน์ รัตนมาลีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การเมืองและการปกครอง In: พัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 (2545) หน้า 35-80Summary: การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 สิ่งสำคัญคือ การเปลี่ยนจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตย ระบบรัฐสภาของไทยเป็นการแสดงออกให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้ใช้อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ทาง คือ นิติบัญญัติบริหาร และอำนาจตุลาการ โดยเฉพาะการ "ตรวจสอบและถ่วงดุล" อีกทั้งหากจะได้พิจารณาโดยละเอียดแลวจะเห็นได้ว่า ได้มีการสถาปนาองค์กรตรวจสอบขึ้นเป็นสถาบันทางการเมือง อันเปรียบเสมือนผู้ใช้อำนาจที่ 4 ของอำนาจอธิปไตยขึ้นมาในรัฐธรรมนูญ (มีต่อ)Summary: การเปลี่ยนแปลงอำนาจครั้งนี้มีข้อพิจารณาที่สำคัญ 3 ประการคือ 1.ผู้ใดเป็นผู้อธิบายเรื่อง "อำนาจ" ผู้นั้นคือผู้มีอำนาจ 2.การตระหนักรู้ในเรื่องอำนาจและความรู้เพราะความรู้คืออีกโฉมหน้าหนึ่งของอำนาจ 3.องค์ความรู้นั้นเป็นแกนหลักและกรอบความคิดในการดำรงชีวิตของแต่ละบุคคล ดังนั้น คำอธิบายและองค์ความรู้เรื่องอำนาจอธิปไตยตามรัฐธรรมนูญอย่างเป็นทางการจะต้องเปลี่ยนไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 สิ่งสำคัญคือ การเปลี่ยนจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตย ระบบรัฐสภาของไทยเป็นการแสดงออกให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างผู้ใช้อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ทาง คือ นิติบัญญัติบริหาร และอำนาจตุลาการ โดยเฉพาะการ "ตรวจสอบและถ่วงดุล" อีกทั้งหากจะได้พิจารณาโดยละเอียดแลวจะเห็นได้ว่า ได้มีการสถาปนาองค์กรตรวจสอบขึ้นเป็นสถาบันทางการเมือง อันเปรียบเสมือนผู้ใช้อำนาจที่ 4 ของอำนาจอธิปไตยขึ้นมาในรัฐธรรมนูญ (มีต่อ)

การเปลี่ยนแปลงอำนาจครั้งนี้มีข้อพิจารณาที่สำคัญ 3 ประการคือ 1.ผู้ใดเป็นผู้อธิบายเรื่อง "อำนาจ" ผู้นั้นคือผู้มีอำนาจ 2.การตระหนักรู้ในเรื่องอำนาจและความรู้เพราะความรู้คืออีกโฉมหน้าหนึ่งของอำนาจ 3.องค์ความรู้นั้นเป็นแกนหลักและกรอบความคิดในการดำรงชีวิตของแต่ละบุคคล ดังนั้น คำอธิบายและองค์ความรู้เรื่องอำนาจอธิปไตยตามรัฐธรรมนูญอย่างเป็นทางการจะต้องเปลี่ยนไป

Share