WTO กับสิ่งแวดล้อม

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สิ่งแวดล้อม | องค์การค้าแห่งโลก | SCI-TECH In: โลกใบใหม่ ปีที่ 10 ฉบับที่ 120 (กันยายน 2542) หน้า 30Summary: World Trade Organization (WTO) หรือ องค์การค้า แห่งโลก ก่อตั้งขึ้นเพื่อ หาข้อยุติ ข้อโต้เถียง ระหว่าง ประเทศสมาชิก เนื่องจาก กฎหมาย การค้า ของ แต่ละประเทศ ขัดแย้งกัน บางกรณีโดยเฉพาะ หากเกี่ยวข้อง กับประเด็น สิ่งแวดล้อม และ สาธารณสุขนั้น ปฏิกิริยาจากกลุ่ม นักสิ่งแวดล้อม เริ่มคุกรุ่น มากขึ้น ตามลำดับ ด้วยกลุ่ม นักสิ่งแวดล้อม เชื่อว่า WTO ซึ่งช่วย ประสานการค้า ระหว่างประเทศ อย่างได้ผลดี ให้ความสนใจ ต่อความ เสียหาย (มีต่อ)Summary: ของสิ่งแวดล้อม เห็นได้ชัดเจน จากผลการตัดสิน เมื่อตุลาคม 2541 ว่า กฎหมาย สหรัฐอเมริกา ซึ่งตั้งใจป้องกัน สิ่งมีชีวิต ที่ใกล้สูญพันธุ์ คือ เต่าทะเล จากการถูกฆ่า โดยอวน จับกุ้งทะเลนั้น เข้าข่าย การกีดกัน ทางการค้า และ ให้สหรัฐอเมริกา ยกเลิก กฎหมายนั้นเสีย กลุ่มนักสิ่งแวดล้อม มองว่า WTO ส่งเสริม ด้านเศรษฐกิจ เป็นผลเสียต่อ สุขภาพประชาชน จึงควร มีการปรับปรุง องค์กรนี้ใหม่ (มีต่อ)Summary: ที่ผ่านมา การตัดสินใจของ WTO สร้างความ ขุ่นเคืองแก่ กลุ่มนักสิ่งแวดล้อม มาโดยตลอด หากการทำงานของ WTO ยังตั้งอยู่ บนสมมุติฐานว่า GATT (General Agreement on Tariffs & Trade) เป็นสนธิสัญญา เหนือกว่า สนธิสัญญา (Supra-treaty) ซึ่งให้ อำนาจหน้าที่ WTO มากกว่า ใครก็เชื่อได้ อย่างแน่นอนว่า สนธิสัญญา ด้าน สิ่งแวดล้อม ที่สำคัญ (Landmark) จะถูกยกเลิก ไปในที่สุด นักสิ่งแวดล้อม บางกลุ่ม ต้องการให้การเปลี่ยนอย่างมากใน WTO (มีต่อ)Summary: ให้คณะกรรมการ พิจารณาข้อโต้แย้ง (dispute panel) มีการพิจารณา อย่างเปิดเผย โปร่งใส โดยให้สาธารณชน เข้าฟังและ ให้มี ผู้เชี่ยวชาญ ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นผู้แทน ในคณะกรรมการ เพื่อให้ ข้อตัดสินของ WTO มีการพิจารณา ด้านสิ่งแวดล้อมด้วย มิใช่ฟังแต่ เชี่ยวชาญการค้า เพียงฝ่ายเดียว ปัจจุบัน คณะกรรมการ พิจารณา ข้อโต้แย้ง ประกอบด้วยสมาชิก 3 คน ซึ่งมักเป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านการค้า (มีต่อ)Summary: และหากมีการ อุทธรณ์ ก็จะนำเรื่อง สู่การพิจารณา ของคณะกรรมการ อุทธรณ์ ซึ่งมีสมาชิก 15 คน ส่วนใหญ่ เป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านการค้าเช่นกัน จะดำเนินการ พิจารณาเป็น ความลับ ไม่เปิดให้ สาธารณชน เข้าฟังแต่อย่างใด ไม่เหมือนการ เจรจาต่อรอง ด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งเปิดให้ องค์กรเอกชน ร่วมฟัง สังเกตการณ์ได้ เมื่อสี่ปีที่แล้ว WTO จัดตั้ง คณะกรรมการ ด้านการค้า และสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)Summary: หรือ CTE ขึ้นเพื่อ ให้คำแนะนำ แก่ระดับการ ตัดสินใจของ WTO เรื่องสิ่งแวดล้อม ที่เชื่อมโยง กับการค้า ประเด็นหนึ่งที่ CTE ต้องแก้ ปัญหาคือ การพิจารณาว่า ข้อตกลง ของนานาประเทศ ในเรื่อง สิ่งแวดล้อม (MEAs)จะตรงกับ กฎเกณฑ์ ทางการค้า หรือไม่ และต้องแสดง ท่าทีอย่างไร จึงจะไม่ให้ ข้อโต้แย้งจาก MEAs นำไปสู่ การพิจารณาของ WTO ซึ่งประเด็นนี้ สหรัฐฯ เสนอแนะที่จะเติม ประโยคที่ว่า (มีต่อ)Summary: "ถ้า MEAs มีบทบัญญัติ ไม่ตรงกันกับ กฎหมายทางการค้า อยู่เหนือกว่า และยึดถือตามนั้น" เข้าไปใน MEAs แต่ละเรื่อง แต่นักสิ่งแวดล้อม ไม่เห็นด้วย กับข้อเสนอนี้ เพราะ ต้องการให้ MEAs มีฐานะเทียบเท่า หรือเหนือกว่า กฎหมายการค้า การหาข้อยุติ เรื่องนี้ คงต้อง รอการประชุม ระดับรัฐมนตรีของ WTO ปลายปี พ.ศ. 2542 เกี่ยวกับ การเจรจา การค้าของโลก (Global trade Negotiations)
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

World Trade Organization (WTO) หรือ องค์การค้า แห่งโลก ก่อตั้งขึ้นเพื่อ หาข้อยุติ ข้อโต้เถียง ระหว่าง ประเทศสมาชิก เนื่องจาก กฎหมาย การค้า ของ แต่ละประเทศ ขัดแย้งกัน บางกรณีโดยเฉพาะ หากเกี่ยวข้อง กับประเด็น สิ่งแวดล้อม และ สาธารณสุขนั้น ปฏิกิริยาจากกลุ่ม นักสิ่งแวดล้อม เริ่มคุกรุ่น มากขึ้น ตามลำดับ ด้วยกลุ่ม นักสิ่งแวดล้อม เชื่อว่า WTO ซึ่งช่วย ประสานการค้า ระหว่างประเทศ อย่างได้ผลดี ให้ความสนใจ ต่อความ เสียหาย (มีต่อ)

ของสิ่งแวดล้อม เห็นได้ชัดเจน จากผลการตัดสิน เมื่อตุลาคม 2541 ว่า กฎหมาย สหรัฐอเมริกา ซึ่งตั้งใจป้องกัน สิ่งมีชีวิต ที่ใกล้สูญพันธุ์ คือ เต่าทะเล จากการถูกฆ่า โดยอวน จับกุ้งทะเลนั้น เข้าข่าย การกีดกัน ทางการค้า และ ให้สหรัฐอเมริกา ยกเลิก กฎหมายนั้นเสีย กลุ่มนักสิ่งแวดล้อม มองว่า WTO ส่งเสริม ด้านเศรษฐกิจ เป็นผลเสียต่อ สุขภาพประชาชน จึงควร มีการปรับปรุง องค์กรนี้ใหม่ (มีต่อ)

ที่ผ่านมา การตัดสินใจของ WTO สร้างความ ขุ่นเคืองแก่ กลุ่มนักสิ่งแวดล้อม มาโดยตลอด หากการทำงานของ WTO ยังตั้งอยู่ บนสมมุติฐานว่า GATT (General Agreement on Tariffs & Trade) เป็นสนธิสัญญา เหนือกว่า สนธิสัญญา (Supra-treaty) ซึ่งให้ อำนาจหน้าที่ WTO มากกว่า ใครก็เชื่อได้ อย่างแน่นอนว่า สนธิสัญญา ด้าน สิ่งแวดล้อม ที่สำคัญ (Landmark) จะถูกยกเลิก ไปในที่สุด นักสิ่งแวดล้อม บางกลุ่ม ต้องการให้การเปลี่ยนอย่างมากใน WTO (มีต่อ)

ให้คณะกรรมการ พิจารณาข้อโต้แย้ง (dispute panel) มีการพิจารณา อย่างเปิดเผย โปร่งใส โดยให้สาธารณชน เข้าฟังและ ให้มี ผู้เชี่ยวชาญ ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นผู้แทน ในคณะกรรมการ เพื่อให้ ข้อตัดสินของ WTO มีการพิจารณา ด้านสิ่งแวดล้อมด้วย มิใช่ฟังแต่ เชี่ยวชาญการค้า เพียงฝ่ายเดียว ปัจจุบัน คณะกรรมการ พิจารณา ข้อโต้แย้ง ประกอบด้วยสมาชิก 3 คน ซึ่งมักเป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านการค้า (มีต่อ)

และหากมีการ อุทธรณ์ ก็จะนำเรื่อง สู่การพิจารณา ของคณะกรรมการ อุทธรณ์ ซึ่งมีสมาชิก 15 คน ส่วนใหญ่ เป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านการค้าเช่นกัน จะดำเนินการ พิจารณาเป็น ความลับ ไม่เปิดให้ สาธารณชน เข้าฟังแต่อย่างใด ไม่เหมือนการ เจรจาต่อรอง ด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งเปิดให้ องค์กรเอกชน ร่วมฟัง สังเกตการณ์ได้ เมื่อสี่ปีที่แล้ว WTO จัดตั้ง คณะกรรมการ ด้านการค้า และสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)

หรือ CTE ขึ้นเพื่อ ให้คำแนะนำ แก่ระดับการ ตัดสินใจของ WTO เรื่องสิ่งแวดล้อม ที่เชื่อมโยง กับการค้า ประเด็นหนึ่งที่ CTE ต้องแก้ ปัญหาคือ การพิจารณาว่า ข้อตกลง ของนานาประเทศ ในเรื่อง สิ่งแวดล้อม (MEAs)จะตรงกับ กฎเกณฑ์ ทางการค้า หรือไม่ และต้องแสดง ท่าทีอย่างไร จึงจะไม่ให้ ข้อโต้แย้งจาก MEAs นำไปสู่ การพิจารณาของ WTO ซึ่งประเด็นนี้ สหรัฐฯ เสนอแนะที่จะเติม ประโยคที่ว่า (มีต่อ)

"ถ้า MEAs มีบทบัญญัติ ไม่ตรงกันกับ กฎหมายทางการค้า อยู่เหนือกว่า และยึดถือตามนั้น" เข้าไปใน MEAs แต่ละเรื่อง แต่นักสิ่งแวดล้อม ไม่เห็นด้วย กับข้อเสนอนี้ เพราะ ต้องการให้ MEAs มีฐานะเทียบเท่า หรือเหนือกว่า กฎหมายการค้า การหาข้อยุติ เรื่องนี้ คงต้อง รอการประชุม ระดับรัฐมนตรีของ WTO ปลายปี พ.ศ. 2542 เกี่ยวกับ การเจรจา การค้าของโลก (Global trade Negotiations)