ระดับความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงของเพลี้ยกระโดดหลังขาว / วันทนา ศรีรัตนศักดิ์, จินตนา ทยาธรรม

By: วันทนา ศรีรัตนศักดิ์Contributor(s): จินตนา ทยาธรรมCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เพลี้ยกระโดดหลังขาว | ศัตรูพืช | SCI-TECH In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2542) หน้า 3 - 12Summary: เก็บรวบรวม ประชากร เพลี้ยกระโดดหลังขาว จากนาข้าว ในจังหวัด ภาคกลาง เหนือ และ ตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 11 จังหวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2538-2540 มาเลี้ยงขยายปริมาณ ในห้องเลี้ยงแมลง ควบคุมอุณหภูมิที่ 25+-1 องศาเซลเซียส และได้รับ แสงจาก ไฟนีออน 12 ชั่วโมงต่อวัน (มีต่อ)Summary: จนถึง ชั่วอายุขัยที่ (F4) นำตัวเต็มวัย เพศเมีย อายุ 2-3 วัน มาทดสอบ ความต้านทาน ต่อสาร ฆ่าแมลง 9 ชนิด เปรียบเทียบค่า LD50 ของสารฆ่าแมลง แต่ละชนิด ระหว่าง ประชากร เพลี้ยกระโดด หลังขาว ทั้ง 11 จังหวัด พบว่า ไม่มี ประชากรใด (มีต่อ)Summary: แสดงคุณสมบัติ เป็นประชากร พันธุ์อ่อนแอ เพื่อใช้ เปรียบเทียบ ระดับความ ต้านทานได้ และเมื่อ เปรียบเทียบ ค่าสัดส่วน ความต้านทาน ระหว่างค่า LC50 ของสารฆ่าแมลง แต่ละชนิด กับความ เข้มข้น ของสารฆ่าแมลง ที่แนะนำ พบว่า ประชากร เพลี้ยกระโดดหลังขาว ที่ทดสอบ มีการปรับตัว (มีต่อ)Summary: ให้สร้าง ความต้านทาน ต่อสาร carbosulfan fenitrothion และ malathion มีค่า RR ระหว่าง 18.5-270.0 เท่า ปรับตัวให้ทนทาน ต่อสาร czrbofuran etofenprox และ chlorpyrifos/fenobucarb มีค่า RR ระหว่าง 0.8-10.5 เท่า และปรับตัวทั้ง ต้านทาน และทนทาน (มีต่อ)Summary: ต่อสาร isoprocarb, fenobucarb และ monocrotophos มีค่า RR ระหว่าง 4.7-91.0 เท่า โดยประชากร จากจังหวัด อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ พะเยา และชัยนาท มีแนวโน้ม พัฒนาเป็น เพลี้ยกระโดดหลังขาว พันธุ์ ต้านทาน สำหรับประชากร จากปทุมธานี สุพรรณบุรี เชียงใหม่ เชียงราย ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ น่าน และ นครราชสีมา เป็นประชากร ที่อยู่ระหว่าง การพัฒนา เป็นประชากร ที่ทนทาน และต้านทาน ต่อสารฆ่าแมลง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เก็บรวบรวม ประชากร เพลี้ยกระโดดหลังขาว จากนาข้าว ในจังหวัด ภาคกลาง เหนือ และ ตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 11 จังหวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2538-2540 มาเลี้ยงขยายปริมาณ ในห้องเลี้ยงแมลง ควบคุมอุณหภูมิที่ 25+-1 องศาเซลเซียส และได้รับ แสงจาก ไฟนีออน 12 ชั่วโมงต่อวัน (มีต่อ)

จนถึง ชั่วอายุขัยที่ (F4) นำตัวเต็มวัย เพศเมีย อายุ 2-3 วัน มาทดสอบ ความต้านทาน ต่อสาร ฆ่าแมลง 9 ชนิด เปรียบเทียบค่า LD50 ของสารฆ่าแมลง แต่ละชนิด ระหว่าง ประชากร เพลี้ยกระโดด หลังขาว ทั้ง 11 จังหวัด พบว่า ไม่มี ประชากรใด (มีต่อ)

แสดงคุณสมบัติ เป็นประชากร พันธุ์อ่อนแอ เพื่อใช้ เปรียบเทียบ ระดับความ ต้านทานได้ และเมื่อ เปรียบเทียบ ค่าสัดส่วน ความต้านทาน ระหว่างค่า LC50 ของสารฆ่าแมลง แต่ละชนิด กับความ เข้มข้น ของสารฆ่าแมลง ที่แนะนำ พบว่า ประชากร เพลี้ยกระโดดหลังขาว ที่ทดสอบ มีการปรับตัว (มีต่อ)

ให้สร้าง ความต้านทาน ต่อสาร carbosulfan fenitrothion และ malathion มีค่า RR ระหว่าง 18.5-270.0 เท่า ปรับตัวให้ทนทาน ต่อสาร czrbofuran etofenprox และ chlorpyrifos/fenobucarb มีค่า RR ระหว่าง 0.8-10.5 เท่า และปรับตัวทั้ง ต้านทาน และทนทาน (มีต่อ)

ต่อสาร isoprocarb, fenobucarb และ monocrotophos มีค่า RR ระหว่าง 4.7-91.0 เท่า โดยประชากร จากจังหวัด อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ พะเยา และชัยนาท มีแนวโน้ม พัฒนาเป็น เพลี้ยกระโดดหลังขาว พันธุ์ ต้านทาน สำหรับประชากร จากปทุมธานี สุพรรณบุรี เชียงใหม่ เชียงราย ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ น่าน และ นครราชสีมา เป็นประชากร ที่อยู่ระหว่าง การพัฒนา เป็นประชากร ที่ทนทาน และต้านทาน ต่อสารฆ่าแมลง