การป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมสำหรับวัยรุ่นในโรงเรียน การวิจัยแบบมีส่วนร่วม / อาภาวรรณ หนูคง

By: อาภาวรรณ หนูคงContributor(s): วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เมตาบอลิกซินโดรมGenre/Form: วัยรุ่น Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สภาการพยาบาล ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (๋เมษายน – มิถุนายน 2562) หน้า 44-61Summary: ภาวะเมตาบอลิกซินโดรม หมายถึง ภาวะอ้วนลงพุงร่วมกับ 2 ใน 4 เกณฑ์นี้ คือ ไตรกลีเซอร์ไรด์มากกว่า 150 mg/dl, HDL cholesterol น้อยกว่า 40 mg/dl ในผู้ชาย และ น้อยกว่า 50 mg/dl ในผู้หญิง ความดันโลหิตตั้งแต่ 130/85 mmHg และน้ำตาลในเลือดตั้งแต่ 100mg/dl1 ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในเด็กและวัยรุ่น ได้แก่ ปัจจัยด้านพันธุกรรม ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ของมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ ภาวะอ้วน การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักอย่างรวดเร็วของเด็ก พฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมการออกกำลังกาย การใช้เวลาหน้าจอ การนอนหลับน้อย และการสูบบุหรี่
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ภาวะเมตาบอลิกซินโดรม หมายถึง ภาวะอ้วนลงพุงร่วมกับ 2 ใน 4 เกณฑ์นี้ คือ ไตรกลีเซอร์ไรด์มากกว่า 150 mg/dl, HDL cholesterol น้อยกว่า 40 mg/dl ในผู้ชาย และ น้อยกว่า 50 mg/dl ในผู้หญิง ความดันโลหิตตั้งแต่ 130/85 mmHg และน้ำตาลในเลือดตั้งแต่ 100mg/dl1 ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในเด็กและวัยรุ่น ได้แก่ ปัจจัยด้านพันธุกรรม ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ของมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ ภาวะอ้วน การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักอย่างรวดเร็วของเด็ก พฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมการออกกำลังกาย การใช้เวลาหน้าจอ การนอนหลับน้อย และการสูบบุหรี่