ไม่อยาก "ตัวตึง" พึ่งหมอ (นวด) เชิญทางนี้!

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เส้นยึด | เส้นตึง In: Life & Metro ปีที่ 6 ฉบับที่ 67 (พฤศจิกายน 2565) หน้า 24 Summary: “เส้น” หมายถึง เส้นเอ็น ที่ยึดระหว่างข้อกับกล้ามเนื้อ ซึ่งมีอยู่ทุกส่วนของร่างกาย แต่เส้นที่ยึดกันส่วนใหญ่ มักเป็นเส้นเอ็นระหว่างสะโพกที่เกาะจากสะโพกไปข้อเข่า เส้นเอ็นข้างข้อเข่า เส้นเอ็นต้นคอ เส้นหลัง และส่วนมาก 80% เส้นที่สามารถตึงตัวได้บ่อย คือ เส้นเอ็นบ่า หรือที่มักเรียกกันว่า สะบักจม “ยึด” คือ เส้นยึด ที่ทำให้อาการที่เส้นเอ็นเกิดการตึงตัว เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการหดรั้ง ขาดความยืดหยุ่น หากทิ้งให้กล้ามเนื้อหดตัวนานๆ ไม่คลาย จะเป็นก้อนแข็งตึง กดแล้วเจ็บ พบมากในกลุ่มคนทำงานออฟฟิศ และกลุ่มผู้สูงอายุ ที่ไม่ได้ออกกำลังกาย สาเหตุเกิดจากการใช้ร่างกายซ้ำๆ อยู่ในท่าเดิมนานๆ รวมไปถึงการใช้อิริยาบถที่ผิดท่าผิดทาง “เส้นยึด เส้นตึง” พบมากในกลุ่มคนทำงานออฟฟิศ และกลุ่มผู้สูงอายุ ที่ไม่ได้ออกกำลังกาย การฉีดยาคลายกล้ามเนื้อตรงบริเวณที่มีอาการยึดตึง จะช่วยกล้ามเนื้อบริเวณนั้นให้คลายตัวและกลับมามีความยึดหยุ่น แต่ควรต้องปรับเปลี่ยนนิสัย ออกกำลัง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

“เส้น” หมายถึง เส้นเอ็น ที่ยึดระหว่างข้อกับกล้ามเนื้อ ซึ่งมีอยู่ทุกส่วนของร่างกาย แต่เส้นที่ยึดกันส่วนใหญ่ มักเป็นเส้นเอ็นระหว่างสะโพกที่เกาะจากสะโพกไปข้อเข่า เส้นเอ็นข้างข้อเข่า เส้นเอ็นต้นคอ เส้นหลัง และส่วนมาก 80% เส้นที่สามารถตึงตัวได้บ่อย คือ เส้นเอ็นบ่า หรือที่มักเรียกกันว่า สะบักจม “ยึด” คือ เส้นยึด ที่ทำให้อาการที่เส้นเอ็นเกิดการตึงตัว เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการหดรั้ง ขาดความยืดหยุ่น หากทิ้งให้กล้ามเนื้อหดตัวนานๆ ไม่คลาย จะเป็นก้อนแข็งตึง กดแล้วเจ็บ พบมากในกลุ่มคนทำงานออฟฟิศ และกลุ่มผู้สูงอายุ ที่ไม่ได้ออกกำลังกาย สาเหตุเกิดจากการใช้ร่างกายซ้ำๆ อยู่ในท่าเดิมนานๆ รวมไปถึงการใช้อิริยาบถที่ผิดท่าผิดทาง “เส้นยึด เส้นตึง” พบมากในกลุ่มคนทำงานออฟฟิศ และกลุ่มผู้สูงอายุ ที่ไม่ได้ออกกำลังกาย การฉีดยาคลายกล้ามเนื้อตรงบริเวณที่มีอาการยึดตึง จะช่วยกล้ามเนื้อบริเวณนั้นให้คลายตัวและกลับมามีความยึดหยุ่น แต่ควรต้องปรับเปลี่ยนนิสัย ออกกำลัง