ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุในจังหวัดเพชรบุรี / เสาวลักษณ์ วิบูรณ์กาล

By: เสาวลักษณ์ วิบูรณ์กาลContributor(s): ปิยากร หวังมหาพรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): โรงเรียนผู้สูงอายุGenre/Form: การมีส่วนร่วม Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: มนุษยสังคมปริทัศน์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564) หน้า 171-185Summary: โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นการจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่มีความส าคัญต่อการดำเนินชีวิต เกิดจากแนวคิดที่ตระหนักถึงคุณค่า ความสำคัญ และพลังของผู้สูงอายุ โดยการสร้างพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย การเกิดขึ้นของโรงเรียนผู้สูงอายุยังสอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545–2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 (พ.ศ.2552) และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการศึกษา การพัฒนาทักษะ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุจะเป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุสนใจและมีความส าคัญต่อการด าเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จำเป็น
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นการจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่มีความส าคัญต่อการดำเนินชีวิต เกิดจากแนวคิดที่ตระหนักถึงคุณค่า ความสำคัญ และพลังของผู้สูงอายุ โดยการสร้างพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย การเกิดขึ้นของโรงเรียนผู้สูงอายุยังสอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545–2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 (พ.ศ.2552) และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการศึกษา การพัฒนาทักษะ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุจะเป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุสนใจและมีความส าคัญต่อการด าเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จำเป็น

Share