การพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยภาวะติดเชื้อในโรงพยาบาลเลย / พัชนีภรณ์ สุรนาทชยานันท์

By: พัชนีภรณ์ สุรนาทชยานันท์Contributor(s): วนิดา เคนทองดี | สุพัตรา กมลรัตน์ | สุพัตรา กมลรัตน์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): โรงพยาบาลเลยGenre/Form: การพยาบาล Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มีนาคม 2561) หน้า 207-215Summary: ภาวะติดเชื้อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบบ่อยและมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึง 1 ใน 4 ของผู้ป่วยภาวะติดเชื้อทั้งหมด1 ในสหรัฐอเมริกา 2 ทศวรรษที่ผ่านมาพบอุบัติการณ์ภาวะติดเชื้อเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.7 ต่อปี โดยพบผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ 400,000 รายต่อปี และมีอัตราเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 352 สำหรับประเทศไทยพบอุบัติการณ์ภาวะติดเชื้อประมาณ 75-150 รายต่อ 100,000 ประชากรต่อปี หรือมากกว่า 5,000-10,000 รายต่อปี ในโรงพยาบาลทั่วไป ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงที่สุดคือภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock) พบร้อยละ 10-40 มีอัตราตายร้อยละ 40-803 ราตายผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในโรงพยาบาลเลยปี พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2556 พบร้อยละ 35 และ 37 ตามลำดับ (เป้าหมายเขตบริการสุขภาพที่ 8 ต่ำกว่าร้อยละ 25) เป็นปรากฏการณ์ที่เป็นสภาพปัญหาในการควบคุมระบบการติดเชื้อของโรงพยาบาลเลย ซึ่งยังไม่ได้รับการพัฒนา ในปี พ.ศ. 2557 จึงมีการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ (Sepsis) โดยนำแนวทางการรักษา (Clinical Practice Guideline: CPG) ผู้ป่วยภาวะติดเชื้อมาใช้ในกลุ่มงานอายุรกรรมโดยจัดให้มีช่องทางด่วนผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ (Sepsis Fast Track) และประกาศใช้ทุกกลุ่มงานได้แก่ กลุ่มงานศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก สูติกรรม และตา หู คอ จมูก
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ภาวะติดเชื้อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบบ่อยและมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึง 1 ใน 4 ของผู้ป่วยภาวะติดเชื้อทั้งหมด1 ในสหรัฐอเมริกา 2 ทศวรรษที่ผ่านมาพบอุบัติการณ์ภาวะติดเชื้อเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.7 ต่อปี โดยพบผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ 400,000 รายต่อปี และมีอัตราเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 352 สำหรับประเทศไทยพบอุบัติการณ์ภาวะติดเชื้อประมาณ 75-150 รายต่อ 100,000 ประชากรต่อปี หรือมากกว่า 5,000-10,000 รายต่อปี ในโรงพยาบาลทั่วไป ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงที่สุดคือภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock) พบร้อยละ 10-40 มีอัตราตายร้อยละ 40-803 ราตายผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในโรงพยาบาลเลยปี พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2556 พบร้อยละ 35 และ 37 ตามลำดับ (เป้าหมายเขตบริการสุขภาพที่ 8 ต่ำกว่าร้อยละ 25) เป็นปรากฏการณ์ที่เป็นสภาพปัญหาในการควบคุมระบบการติดเชื้อของโรงพยาบาลเลย ซึ่งยังไม่ได้รับการพัฒนา ในปี พ.ศ. 2557 จึงมีการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ (Sepsis) โดยนำแนวทางการรักษา (Clinical Practice Guideline: CPG) ผู้ป่วยภาวะติดเชื้อมาใช้ในกลุ่มงานอายุรกรรมโดยจัดให้มีช่องทางด่วนผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ (Sepsis Fast Track) และประกาศใช้ทุกกลุ่มงานได้แก่ กลุ่มงานศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก สูติกรรม และตา หู คอ จมูก