ความร่วมมือระหว่างไทย-สปป.ลาว ด้านพลังงานไฟฟ้า

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | พลังงานไฟฟ้า | ความร่วมมือระหว่างประเทศ | ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ In: นโยบายพลังงาน ฉบับที่ 48 (เมษายน-มิถุนายน 2543) หน้า19-21Summary: รัฐบาลไทย และรัฐบาล สปป.ลาว ได้ร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) ฉบับแรก เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2536 เพื่อส่งเสริมและให้ความร่วมมือในการพัฒนาโครงการในการผลิตไฟฟ้าใน สปป.ลาว เพื่อจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประเทศไทย จำนวน 1,500 เมกะวัตต์ ภายในปี 2543 ความร่วมมือทางด้านไฟฟ้าของรัฐบาล และ สปป.ลาว ในครั้งนี้ จะส่งผลดีต่อทั้ง 2 ฝ่าย คือ นอกจะทำให้เกิดผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการมีไฟฟ้าใช้อย่างเพียงพอ และมีความมั่นคงของระบบการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยแล้ว ยังเป็นการสร้างรายได้ให้กับ สปป.ลาว จากการขายไฟฟ้าถึงประมาณปีละ 25,000-30,000 ล้านบาท ภายใต้กรอบของบันทึกความเข้าใจ ในปริมาณ 3,000 เมกะวัตต์ เป็นระยะเวลา 25 ปี และจะนำมาซึ่งการพัฒนาความสัมพันธ์อันดีในด้านอื่นๆ นอกเหนือจากด้านไฟฟ้าระหว่างไทย กับ สปป.ลาว ในอนาคตอีกด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

รัฐบาลไทย และรัฐบาล สปป.ลาว ได้ร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) ฉบับแรก เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2536 เพื่อส่งเสริมและให้ความร่วมมือในการพัฒนาโครงการในการผลิตไฟฟ้าใน สปป.ลาว เพื่อจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประเทศไทย จำนวน 1,500 เมกะวัตต์ ภายในปี 2543 ความร่วมมือทางด้านไฟฟ้าของรัฐบาล และ สปป.ลาว ในครั้งนี้ จะส่งผลดีต่อทั้ง 2 ฝ่าย คือ นอกจะทำให้เกิดผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการมีไฟฟ้าใช้อย่างเพียงพอ และมีความมั่นคงของระบบการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยแล้ว ยังเป็นการสร้างรายได้ให้กับ สปป.ลาว จากการขายไฟฟ้าถึงประมาณปีละ 25,000-30,000 ล้านบาท ภายใต้กรอบของบันทึกความเข้าใจ ในปริมาณ 3,000 เมกะวัตต์ เป็นระยะเวลา 25 ปี และจะนำมาซึ่งการพัฒนาความสัมพันธ์อันดีในด้านอื่นๆ นอกเหนือจากด้านไฟฟ้าระหว่างไทย กับ สปป.ลาว ในอนาคตอีกด้วย