การพัฒนาแนวทางการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ห้องผ่าตัด โรงพยาบาลเลย รัตน์ติยา สันติสถาพร

By: รัตน์ติยา สันติสถาพรContributor(s): วาสนา ธรรมธีระศิษฏ์ | ปรางฉาย พากระจ่าง | อภิชาติ สุนทรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การพยาบาล -- การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 38 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2563) หน้า 157-166Summary: การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (Total knee replacement) เป็นการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อแก้ไขความพิการและบรรเทาปวด โดยใช้วัสดุจำลองใส่เข้าไปแทนที่กระดูกอ่อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น ลดความเจ็บปวด และดำรงชีวิตอย่างปกติ ซึ่งการผ่าตัดอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น อาการปวด การติดเชื้อภายหลังผ่าตัด หลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน ข้อเทียมหลวมหรือหลุด ท้องอืด แผลกดทับ และปัญหาทางจิตใจ เห็นได้ว่าการผ่าตัดมีประโยชน์ต่อผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมแต่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ อย่างไรก็ตาม ภาวะเหล่านี้สามารถป้องกันด้วยกระบวนการพยาบาลตั้งแต่ก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด และหลังผ่าตัด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (Total knee replacement) เป็นการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อแก้ไขความพิการและบรรเทาปวด โดยใช้วัสดุจำลองใส่เข้าไปแทนที่กระดูกอ่อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น ลดความเจ็บปวด และดำรงชีวิตอย่างปกติ ซึ่งการผ่าตัดอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น อาการปวด การติดเชื้อภายหลังผ่าตัด หลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน ข้อเทียมหลวมหรือหลุด ท้องอืด แผลกดทับ และปัญหาทางจิตใจ เห็นได้ว่าการผ่าตัดมีประโยชน์ต่อผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมแต่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ อย่างไรก็ตาม ภาวะเหล่านี้สามารถป้องกันด้วยกระบวนการพยาบาลตั้งแต่ก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด และหลังผ่าตัด