ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อการบริโภคน้ำกระชายในสถานการณ์ COVID-19 ในเขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร อดิศร ฉายแสง, ดลยา จาตุรงคกุล, อัครวัฒน์ จตุพัฒน์วโรดม และ พิมพา หิรัญกิตติ

By: อดิศร ฉายแสงContributor(s): ดลยา จาตุรงคกุล | อัครวัฒน์ จตุพัฒน์วโรดม | พิมพา หิรัญกิตติCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สมุนไพรGenre/Form: กระชาย Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: วิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2566) หน้า 52-67Summary: กระชาย หรือ ขิงจีน เป็นพืชสมุนไพรที่ปลูกเลี้ยงกันในประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระชายมีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กะแอน (อีสาน, เหนือ) กะซาย, ขิงซาย (อีสาน) จี๊ปู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) ซีพู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) เป๊าะซอเร้าะ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป๊าะสี่ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) ละแอน (เหนือ) ว่านพระอาทิตย์ (กรุงเทพฯ) กระชายมี 3 ชนิด คือ กระชายดำ กระชายแดง กระชายเหลือง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กระชาย หรือ ขิงจีน เป็นพืชสมุนไพรที่ปลูกเลี้ยงกันในประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระชายมีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กะแอน (อีสาน, เหนือ) กะซาย, ขิงซาย (อีสาน) จี๊ปู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) ซีพู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) เป๊าะซอเร้าะ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป๊าะสี่ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) ละแอน (เหนือ) ว่านพระอาทิตย์ (กรุงเทพฯ) กระชายมี 3 ชนิด คือ กระชายดำ กระชายแดง กระชายเหลือง