การปรับแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า ในยุคเศรษฐกิจตกต่ำ / วิไลวรรณ ปานนิยม

By: วิไลวรรณ ปานนิยมCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ไฟฟ้า | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 5 ฉบับที่10 (ตุลาคม 2541) หน้า 39 - 41Summary: ไฟฟ้าเป็นปัจจัย สำคัญอย่างหนึ่ง ในการครองชีพ และมีความสำคัญ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ความต้องการ พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ตลอดเวลาในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา แต่จากผลของภาวะเศรษฐกิจถดถอย และ การผันผวน ของค่าเงินบาท ทำให้การใช้ไฟฟ้า ของประเทศลดลง อย่างมาก เพราะธุรกิจหลายประเภทต้องปิดตัวลง หรือชะลอการผลิต (มีต่อ)Summary: และการขยายงาน ปัญหาความต้องการ ไฟฟ้าลดง มีผลกระทบหลายด้าน ซึ่งหากไม่มีมาตรการ แก้ไขที่ถูกต้อง อย่างทันท่วงที ก็จะมีผลต่อต้นทุน การผลิตไฟฟ้า อย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ การปรับแผนพัฒนา กำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ จึงเป็นสิ่งจำเป็นเร่งด่วน แต่เนื่องจาก ในการดำเนินการนั้น ต้องใช้ข้อมูลจากหลายหน่วยงาน เช่น ข้อมูลการเจริญเติบโต (มีต่อ)Summary: ทางเศรษฐกิจ จากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมหแห่งชาติ ความต้องการไฟฟ้าในแต่ละสาขา จากไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย ตลอดจนต้อง ได้รับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การ แก้ไขปัญหา อย่างทันสถานการณ์ กฟผ. จึงได้ดำเนินการ ปรับแผนเป็นการภายใน มาตรการสำคัญๆ ที่นำมาใช้ได้แก่ (มีต่อ)Summary: การเลื่อนการก่อสร้างของ กฟผ. การเจรจาเพื่อเลื่อนซื้อไฟฟ้า กับโรงไฟฟ้าไอพีพีเอสพีพี และการซื้อไฟฟ้า จากต่างประเทศ มาตรการต่างๆ เหล่านี้ สามารถแก้ไข ปัญหากำลังการผลิต สำรองของประเทศ มีมากเกินความจำเป็นได้หรือไม่ ก็คงต้องดูกันต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ไฟฟ้าเป็นปัจจัย สำคัญอย่างหนึ่ง ในการครองชีพ และมีความสำคัญ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ความต้องการ พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ตลอดเวลาในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา แต่จากผลของภาวะเศรษฐกิจถดถอย และ การผันผวน ของค่าเงินบาท ทำให้การใช้ไฟฟ้า ของประเทศลดลง อย่างมาก เพราะธุรกิจหลายประเภทต้องปิดตัวลง หรือชะลอการผลิต (มีต่อ)

และการขยายงาน ปัญหาความต้องการ ไฟฟ้าลดง มีผลกระทบหลายด้าน ซึ่งหากไม่มีมาตรการ แก้ไขที่ถูกต้อง อย่างทันท่วงที ก็จะมีผลต่อต้นทุน การผลิตไฟฟ้า อย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ การปรับแผนพัฒนา กำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ จึงเป็นสิ่งจำเป็นเร่งด่วน แต่เนื่องจาก ในการดำเนินการนั้น ต้องใช้ข้อมูลจากหลายหน่วยงาน เช่น ข้อมูลการเจริญเติบโต (มีต่อ)

ทางเศรษฐกิจ จากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมหแห่งชาติ ความต้องการไฟฟ้าในแต่ละสาขา จากไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย ตลอดจนต้อง ได้รับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี ดังนั้นเพื่อให้การ แก้ไขปัญหา อย่างทันสถานการณ์ กฟผ. จึงได้ดำเนินการ ปรับแผนเป็นการภายใน มาตรการสำคัญๆ ที่นำมาใช้ได้แก่ (มีต่อ)

การเลื่อนการก่อสร้างของ กฟผ. การเจรจาเพื่อเลื่อนซื้อไฟฟ้า กับโรงไฟฟ้าไอพีพีเอสพีพี และการซื้อไฟฟ้า จากต่างประเทศ มาตรการต่างๆ เหล่านี้ สามารถแก้ไข ปัญหากำลังการผลิต สำรองของประเทศ มีมากเกินความจำเป็นได้หรือไม่ ก็คงต้องดูกันต่อไป