ผลของการใช้โปรแกรมการเตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติหลักและเทคนิคการพยาบาลแบบผสมผสาน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ จิรสุดา ทะเรรัมย์, ธิดารัตน์ คณึงเพียร และ กรวรรณ ผมทอง

By: จิรสุดา ทะเรรัมย์Contributor(s): ธิดารัตน์ คณึงเพียร | กรวรรณ ผมทองCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): พยาบาลศาสตร์ | การพยาบาลOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2566) หน้า 66-76Summary: การพยาบาล หรือ พยาบาลศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ป่วย เพื่อให้อยู่ในสภาวะที่จะต่อสู้การรุกรานของโรคได้อย่างดีที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้ทั้งร่างกายและจิตใจ เช่นเดียวกับความหมายของการพยาบาลที่เสนอโดย เวอร์จิเนีย เฮนเดอร์สัน ได้แก่ การพยาบาลคือการช่วยเหลือบุคคลทั้งยามปกติและยามป่วยไข้ ในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ หรือส่งเสริมการหายจากโรคหรือแม้กระทั่งการช่วยให้บุคคลได้ไปสู่ความตายอย่างสงบซึ่งบุคคลอาจจะปฏิบัติได้เองในสภาวะที่มีกำลังกาย กำลังใจ และความรู้เพียงพอ และเป็นการกระทำที่จะช่วยให้บุคคลกลับเข้าสู่สภาวะที่ช่วยตนเองได้โดยไม่ต้องรับการช่วยเหลือนั้น โดยเร็วที่สุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การพยาบาล หรือ พยาบาลศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ป่วย เพื่อให้อยู่ในสภาวะที่จะต่อสู้การรุกรานของโรคได้อย่างดีที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้ทั้งร่างกายและจิตใจ เช่นเดียวกับความหมายของการพยาบาลที่เสนอโดย เวอร์จิเนีย เฮนเดอร์สัน ได้แก่ การพยาบาลคือการช่วยเหลือบุคคลทั้งยามปกติและยามป่วยไข้ ในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ หรือส่งเสริมการหายจากโรคหรือแม้กระทั่งการช่วยให้บุคคลได้ไปสู่ความตายอย่างสงบซึ่งบุคคลอาจจะปฏิบัติได้เองในสภาวะที่มีกำลังกาย กำลังใจ และความรู้เพียงพอ และเป็นการกระทำที่จะช่วยให้บุคคลกลับเข้าสู่สภาวะที่ช่วยตนเองได้โดยไม่ต้องรับการช่วยเหลือนั้น โดยเร็วที่สุด