การลดของเสียในการผลิตรองเท้า โดยใช้เทคโนโลยี คิว.ซี.ซี / ทรงศักดิ์ ปิงไฝ, อัครเดช สินธุภัค

By: ทรงศักดิ์ ปิงไฝContributor(s): อัครเดช สินธุภัคCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): รองเท้า -- วิจัย | การผลิตรองเท้า -- ของเสีย | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2541) หน้า 26 - 32Summary: บทความนี้ เสนอวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้เทคนิค QCC คือการตรวจสอบ แผนภูมิพาเรโต ผังก้างปลา และ เทคนิคการระดมสมอง โดยตั้งเป้าหมาย ที่จะลดจำนวนของเสียลง 5% ของจำนวนของเสีย ที่เกิดขึ้นทั้งหมด โดยในเดือนธันวาคม 2540 ได้ทำการตรวจสอบทุกชิ้น จำนวน 38,287 คู่ มีของเสียจำนวน198คู่ (มีต่อ)Summary: พบว่าปัญหา ที่ทำให้เกิด รองเท้าเสียมากที่สุด คือ หัวรองเท้าแตก มีจำนวน 67คู่ คิดเป็นเปอร์เซ็นได้ 33.84 % จากจำนวน ของเสียที่เกิดขึ้นทั่งหมด โดยปัญหามีสาเหตุมาจาก 5M 1E ผู้จัดทำวิจัย จึงได้ มีการนำเสนอ แนวทางแก้ไข ปรับปรุง โดยเลือกทำการ แก้ไขสาเหตุ ที่เกิดจากพนักงาน และ เครื่องจักร (มีต่อ)Summary: ซึ่งเป็นสาเหตุที่ใกล้ตัว และ สามารถแก้ไขได้ง่าย มาทำการแก้ไข เมื่อได้ดำเนินการแล้ว ได้ทำการเก็บข้อมูล ในเดือนมีนาคม 2541 พบว่าของเสีย ลดลงเหลือ 58คู่ คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ได้ 11.11% ซึ่งเป็นไปตามจำนวนเป้าหมายที่วางไว้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

บทความนี้ เสนอวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้เทคนิค QCC คือการตรวจสอบ แผนภูมิพาเรโต ผังก้างปลา และ เทคนิคการระดมสมอง โดยตั้งเป้าหมาย ที่จะลดจำนวนของเสียลง 5% ของจำนวนของเสีย ที่เกิดขึ้นทั้งหมด โดยในเดือนธันวาคม 2540 ได้ทำการตรวจสอบทุกชิ้น จำนวน 38,287 คู่ มีของเสียจำนวน198คู่ (มีต่อ)

พบว่าปัญหา ที่ทำให้เกิด รองเท้าเสียมากที่สุด คือ หัวรองเท้าแตก มีจำนวน 67คู่ คิดเป็นเปอร์เซ็นได้ 33.84 % จากจำนวน ของเสียที่เกิดขึ้นทั่งหมด โดยปัญหามีสาเหตุมาจาก 5M 1E ผู้จัดทำวิจัย จึงได้ มีการนำเสนอ แนวทางแก้ไข ปรับปรุง โดยเลือกทำการ แก้ไขสาเหตุ ที่เกิดจากพนักงาน และ เครื่องจักร (มีต่อ)

ซึ่งเป็นสาเหตุที่ใกล้ตัว และ สามารถแก้ไขได้ง่าย มาทำการแก้ไข เมื่อได้ดำเนินการแล้ว ได้ทำการเก็บข้อมูล ในเดือนมีนาคม 2541 พบว่าของเสีย ลดลงเหลือ 58คู่ คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ได้ 11.11% ซึ่งเป็นไปตามจำนวนเป้าหมายที่วางไว้