กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรที่ดินที่ยั่งยืนสำหรับลุ่มน้ำพิปูน / ชาญชัย ธนาวุฒิ ... [และคนอื่นๆ]

Contributor(s): ชาญชัย ธนาวุฒิCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ทรัพยากรธรรมชาติ | ทรัพยากรที่ดิน | SCI-TECH In: สงขลานครินทร์ วทท ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2542) หน้า 123 - 131Summary: ทรัพยากรธรรมชาติในลุ่มน้ำพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ถูกพัฒนามาใช้ประโยชน์อย่างฟุ่มเฟือย เพื่อผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยปราศจากแผนการจัดการที่เป็นระบบส่งผลให้ความสมดุลตามธรรมชาติของระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไป ด้วยเหตุนี้ เมื่อมีฝนตกหนักลงมาติดต่อกันหลายวัน จึงเกิดอุทกภัยและแผ่นดินถล่มขึ้นอย่างรุนแรงก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ตลอดจนพื้นที่ทำการเกษตรที่ไม่อาจประมาณค่าได้ การจัดทำแผนการจัดทรัพยากรที่ดินสำหรับลุ่มน้ำพิปูน โดยอาศัยกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ แผนที่จัดทำมีวัตถุประสงค์ที่จะเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ประโยชน์พื้นที่ให้เปลี่ยนไปเป็นลักษณะที่จะมาซึ่งความมั่นคงและความสมดุลของระบบนิเวศ แผนดังกล่าวได้แบ่งเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น3เขต คือเขตสงวน เขตอนุรักษ์ และเขตพัฒนา การแบ่งเขตการใช้ประโยชน์นี้เป็นการกระทำเพื่อมุ่งให้เกิดความสมดุลระหว่าง การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร อันจะส่งผลให้ระบบนิเวศลุ่มน้ำเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น และยั่งยืนตลอดไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ทรัพยากรธรรมชาติในลุ่มน้ำพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ถูกพัฒนามาใช้ประโยชน์อย่างฟุ่มเฟือย เพื่อผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยปราศจากแผนการจัดการที่เป็นระบบส่งผลให้ความสมดุลตามธรรมชาติของระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไป ด้วยเหตุนี้ เมื่อมีฝนตกหนักลงมาติดต่อกันหลายวัน จึงเกิดอุทกภัยและแผ่นดินถล่มขึ้นอย่างรุนแรงก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ตลอดจนพื้นที่ทำการเกษตรที่ไม่อาจประมาณค่าได้ การจัดทำแผนการจัดทรัพยากรที่ดินสำหรับลุ่มน้ำพิปูน โดยอาศัยกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ แผนที่จัดทำมีวัตถุประสงค์ที่จะเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ประโยชน์พื้นที่ให้เปลี่ยนไปเป็นลักษณะที่จะมาซึ่งความมั่นคงและความสมดุลของระบบนิเวศ แผนดังกล่าวได้แบ่งเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น3เขต คือเขตสงวน เขตอนุรักษ์ และเขตพัฒนา การแบ่งเขตการใช้ประโยชน์นี้เป็นการกระทำเพื่อมุ่งให้เกิดความสมดุลระหว่าง การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร อันจะส่งผลให้ระบบนิเวศลุ่มน้ำเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น และยั่งยืนตลอดไป