มาตรฐาน ระบบคุณภาพ ขั้นพื้นฐาน สำหรับอุตสาหกรรม ขนาดกลาง และเล็กของไทย / รุ่งนภา ทัดท่าทราย

By: รุ่งนภา ทัดท่าทรายCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ไทย -- อุตสาหกรรม In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2541) หน้า 79 - 81Summary: โครงการมาตรฐานระบบคุณภาพ ขั้นพื้นฐาน สำหรับ อุตสาหกรรม ขนาดกลาง และเล็ก ของไทย หรือ TFQSS เป็นประโยชน์ อย่างยิ่ง ต่อบริษัทขนาดกลาง และบริษัทขนาดเล็ก ของไทย เพื่อเป็นแนวทาง และวิธีดำเนินการ (มีต่อ)Summary: ในการปรับปรุงสมรรถนะ ทางด้านคุณภาพ และจิตสำนึก ในงานด้านคุณภาพ เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรม สามารถก้าวหน้า ไปสู่มาตรฐาน การจัดการคุณภาพ ระดับสากลต่อไป ในขณะที่ประเทศ ประสบปัญหา ด้านเศรษฐกิจเช่นนี้ การแข่งขัน (มีต่อ)Summary: ทั้งภายใน และต่างประเทศ ได้ทวีความรุนแรง เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการเตรียมตัว ณ เวลานี้ ให้พร้อม ที่จะปรับตัว ให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์ ในปัจจุบัน บริษัทขนาดกลาง และขนาดเล็ก จำนวนมาก ซึ่งมีความจำเป็น (มีต่อ)Summary: ที่จะต้องมีมาตรฐาน ระดับคุณภาพ พื้นฐานรองรับ เพื่อเป็นบันได ก้าวไปสู่มาตรฐาน ระบบคุณภาพ ในระดับสากต่อไป มุ่งสู่เป้าหมายในการกระจาย สินค้าพื้นเมือง และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร หรือผลิตภัณฑ์แปรรูป (มีต่อ)Summary: จากผลผลิต ทางการเกษตรอุตสาหกรรม ให้สามารถส่งออกขาย ในตลาดโลกได้ โดยคำนึงถึง เทคโนโลยีที่ เหมาะสม ของแต่ละท้องถิ่น หรือนำเอา ภูมิปัญญาชาวบ้าน มาผสมผสานด้วย จึงจะเกิดผลดี อีกทั้ง เป็นการประหยัด (มีต่อ)Summary: และให้ประโยชน์ ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด ซึ่งในที่สุดแล้ว จะทำให้ภาคเอกชนของไทย มีความสามารถ พึ่งพาต้นเองได้ ยืนหยัดอยู่ได้ด้วยตนเอง อย่างมีมาตรฐาน ในระดับสากล จึงจะเป็น ที่ยอมรับของทั่วโลก อันจะเป็น แนวทางหนึ่ง ที่จะนำรายได้ เข้าสู่ประเทศ และสามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจ อันตกต่ำของไทย ได้ในที่สุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โครงการมาตรฐานระบบคุณภาพ ขั้นพื้นฐาน สำหรับ อุตสาหกรรม ขนาดกลาง และเล็ก ของไทย หรือ TFQSS เป็นประโยชน์ อย่างยิ่ง ต่อบริษัทขนาดกลาง และบริษัทขนาดเล็ก ของไทย เพื่อเป็นแนวทาง และวิธีดำเนินการ (มีต่อ)

ในการปรับปรุงสมรรถนะ ทางด้านคุณภาพ และจิตสำนึก ในงานด้านคุณภาพ เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรม สามารถก้าวหน้า ไปสู่มาตรฐาน การจัดการคุณภาพ ระดับสากลต่อไป ในขณะที่ประเทศ ประสบปัญหา ด้านเศรษฐกิจเช่นนี้ การแข่งขัน (มีต่อ)

ทั้งภายใน และต่างประเทศ ได้ทวีความรุนแรง เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการเตรียมตัว ณ เวลานี้ ให้พร้อม ที่จะปรับตัว ให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์ ในปัจจุบัน บริษัทขนาดกลาง และขนาดเล็ก จำนวนมาก ซึ่งมีความจำเป็น (มีต่อ)

ที่จะต้องมีมาตรฐาน ระดับคุณภาพ พื้นฐานรองรับ เพื่อเป็นบันได ก้าวไปสู่มาตรฐาน ระบบคุณภาพ ในระดับสากต่อไป มุ่งสู่เป้าหมายในการกระจาย สินค้าพื้นเมือง และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร หรือผลิตภัณฑ์แปรรูป (มีต่อ)

จากผลผลิต ทางการเกษตรอุตสาหกรรม ให้สามารถส่งออกขาย ในตลาดโลกได้ โดยคำนึงถึง เทคโนโลยีที่ เหมาะสม ของแต่ละท้องถิ่น หรือนำเอา ภูมิปัญญาชาวบ้าน มาผสมผสานด้วย จึงจะเกิดผลดี อีกทั้ง เป็นการประหยัด (มีต่อ)

และให้ประโยชน์ ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด ซึ่งในที่สุดแล้ว จะทำให้ภาคเอกชนของไทย มีความสามารถ พึ่งพาต้นเองได้ ยืนหยัดอยู่ได้ด้วยตนเอง อย่างมีมาตรฐาน ในระดับสากล จึงจะเป็น ที่ยอมรับของทั่วโลก อันจะเป็น แนวทางหนึ่ง ที่จะนำรายได้ เข้าสู่ประเทศ และสามารถฟื้นฟูเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจ อันตกต่ำของไทย ได้ในที่สุด