รัฐผุดนิคมอุตสากกรรม SME สร้างฐานจากการผลิต SME ให้เข้มแข็งทัดเทียม ต่างชาติ

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): อุตสาหกรรม SME | SCI-TECH | ไทย -- ธุรกิจขนาดย่อม In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2543) หน้า 93 - 96Summary: ปัจจุบัน เป็นที่ประจักษ์ กันทั่วไปแล้วว่า กิจกรรมการ ผลิตการค้า บริการ ของประเทศไทย ส่วนใหญ่จัดอยู่ ในกลุ่มวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อม (SME) ซึ่งมีบทบาท สำคัญต่อการพัฒนา ประเทศ ทั้งด้าน การจ้างงาน (มีต่อ)Summary: การสร้างผลผลิต การประหยัด เงินตราต่างประเทศ จากการทดแทน นำเข้าวัตถุดิบ และเป็นกลไกล ในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจไทย ให้เข้มแข็งก้าวหน้า ประกอบกับรัฐบาล ให้ความสำคัญ ในการดำเนินงาน พัฒนา SME (มีต่อ)Summary: ไม่ว่าจะเป็น การจัดตั้ง ตลาดหลักทรัพย์ SME การตั้งสถาบันพัฒนา SME แผนปรับโครงสร้าง อุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิตการให้แข่งขันได้ ในตลาดโลก สำหรับประเภทของ SME ที่ได้รับการสนับสนุน (มีต่อ)Summary: ด้านสิทธิประโยชน์ เป็นพิเศษ จาก บี โอ ไอ คือ สิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม เครื่องหนัง ไม้และเครื่องเขียน เซรามิก ชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ อัญมณีและเครื่องประดับ เป็นต้น ทั้งนี้ในปี 2542 (มีต่อ)Summary: รัฐบาล ได้จัดตั้ง ตลาดหลักทรัพย์ SME เพื่อใช้เป็นแหล่งระดม เงินทุน ระยะยาว ประกอบกับตั้งบริษัท เงินร่วมทุนไทย จำกัด บริหารกองทุนร่วมทุนใน SME รวมทั้งให้กระทรวงการคลัง จัดสรรเงิน อุดหนุน จำนวน 100 ล้านบาท (มีต่อ)Summary: เพื่อให้สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และหอการค้าไทย จัดตั้งศูนย์ ให้คำปรึกษาทางการเงิน สำหรับ SME นอกจากนี้คณะรัฐมนตรี ยังมีมติ เห็นชอบให้เพิ่มทุน ปรับปรุงการดำเนินงาน ของสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ (มีต่อ)Summary: ที่เกี่ยวข้องกับ SME 2 แห่งคือ บรรษัทเงินทุน อุตสาหกรรม ขนาดย่อม และบรรษัทประกันสินเชื่อ อุตสาหกรรม ขนาดย่อม ดังนั้นการที่รัฐ ช่วยให้การปรับโครงสร้างหนี้ ของ SME สำเร็จได้ในทางอ้อม ก็คือ การบริหาร เศรษฐกิจที่ดี (มีต่อ)Summary: และรัฐต้องเข้าไป แก้ปัญหาหนี้เสีย ของธุรกิจ ขนาดใหญ่ให้ได้ เพราะธุรกิจขนาดใหญ่ เป็นลูกค้า สำคัญของ SME หากสามารถ ปรับโครงสร้างหนี้ ของธุรกิจขนาดใหญ่ ได้ก็ทำให้กิจการ SME สามารถผลิต ขายสินค้า และบริการ ได้มากขึ้น (มีต่อ)Summary: ประกอบกับ ช่วยให้ SME ตั้งอยู่ได้ ส่งผลให้ผลิตผล โดยรวมทั้งการส่งออก ของไทยมีความหลากหลายขึ้น และช่วยไม่ให้เกิด ปัญหาการขาดดุลการค้า จนมีผลกระทบ ต่อระบบการเงินไทย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบัน เป็นที่ประจักษ์ กันทั่วไปแล้วว่า กิจกรรมการ ผลิตการค้า บริการ ของประเทศไทย ส่วนใหญ่จัดอยู่ ในกลุ่มวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อม (SME) ซึ่งมีบทบาท สำคัญต่อการพัฒนา ประเทศ ทั้งด้าน การจ้างงาน (มีต่อ)

การสร้างผลผลิต การประหยัด เงินตราต่างประเทศ จากการทดแทน นำเข้าวัตถุดิบ และเป็นกลไกล ในการพลิกฟื้นเศรษฐกิจไทย ให้เข้มแข็งก้าวหน้า ประกอบกับรัฐบาล ให้ความสำคัญ ในการดำเนินงาน พัฒนา SME (มีต่อ)

ไม่ว่าจะเป็น การจัดตั้ง ตลาดหลักทรัพย์ SME การตั้งสถาบันพัฒนา SME แผนปรับโครงสร้าง อุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิตการให้แข่งขันได้ ในตลาดโลก สำหรับประเภทของ SME ที่ได้รับการสนับสนุน (มีต่อ)

ด้านสิทธิประโยชน์ เป็นพิเศษ จาก บี โอ ไอ คือ สิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม เครื่องหนัง ไม้และเครื่องเขียน เซรามิก ชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ อัญมณีและเครื่องประดับ เป็นต้น ทั้งนี้ในปี 2542 (มีต่อ)

รัฐบาล ได้จัดตั้ง ตลาดหลักทรัพย์ SME เพื่อใช้เป็นแหล่งระดม เงินทุน ระยะยาว ประกอบกับตั้งบริษัท เงินร่วมทุนไทย จำกัด บริหารกองทุนร่วมทุนใน SME รวมทั้งให้กระทรวงการคลัง จัดสรรเงิน อุดหนุน จำนวน 100 ล้านบาท (มีต่อ)

เพื่อให้สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และหอการค้าไทย จัดตั้งศูนย์ ให้คำปรึกษาทางการเงิน สำหรับ SME นอกจากนี้คณะรัฐมนตรี ยังมีมติ เห็นชอบให้เพิ่มทุน ปรับปรุงการดำเนินงาน ของสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ (มีต่อ)

ที่เกี่ยวข้องกับ SME 2 แห่งคือ บรรษัทเงินทุน อุตสาหกรรม ขนาดย่อม และบรรษัทประกันสินเชื่อ อุตสาหกรรม ขนาดย่อม ดังนั้นการที่รัฐ ช่วยให้การปรับโครงสร้างหนี้ ของ SME สำเร็จได้ในทางอ้อม ก็คือ การบริหาร เศรษฐกิจที่ดี (มีต่อ)

และรัฐต้องเข้าไป แก้ปัญหาหนี้เสีย ของธุรกิจ ขนาดใหญ่ให้ได้ เพราะธุรกิจขนาดใหญ่ เป็นลูกค้า สำคัญของ SME หากสามารถ ปรับโครงสร้างหนี้ ของธุรกิจขนาดใหญ่ ได้ก็ทำให้กิจการ SME สามารถผลิต ขายสินค้า และบริการ ได้มากขึ้น (มีต่อ)

ประกอบกับ ช่วยให้ SME ตั้งอยู่ได้ ส่งผลให้ผลิตผล โดยรวมทั้งการส่งออก ของไทยมีความหลากหลายขึ้น และช่วยไม่ให้เกิด ปัญหาการขาดดุลการค้า จนมีผลกระทบ ต่อระบบการเงินไทย

Share