เศรษฐกิจไทย ปี2000 ก้าวสู่สหัสวรรษ หรือสาหัส ??

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ภาวะเศรษฐกิจ -- ไทย | SCI-TECH | ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบบับที่ 1 (มกราคม 2543) หน้า 41 - 45Summary: ทิศทาง เศรษฐกิจ ของไทย ในปี2000 ต้องมีปรับตัว เนื่องจาก กระแสการค้า ยุคโลกาภิวัฒน์ ได้กดดันสินค้าไทย อย่างมาก ทั้งนี้ตั้งแต่ 1มกราคม 2543 เป็นต้นไป ไทยต้องเข้าสู่ กรอบปฏิบัติ ของ WTO (มีต่อ)Summary: และข้อตกลง ของการค้า เสรีอาเซียน (AFTA) ส่งผลให้ประเทศไทย ยกเลิก การเก็บภาษี สินค้านำเข้า หรือเก็บไม่เกิน 5% ในสินค้าที่นำเข้า หลายรายการ อีกทั้ง ยกเลิก มาตรการ คุ้มครองผู้ผลิต ภายในประเทศ และมาตรการต่างๆ (มีต่อ)Summary: ตามข้อพันธกรณีต่างๆ ที่กำหนด ไว้ในข้อตกลง ทางการค้า กับประเทศสมาชิก ภาพที่เกิดขึ้น กับประเทศไทย ในปี2000 ชัดเจนที่สุดคือ การเปิดตลาดแข่งขัน กันอย่างเสรี ในอนาคต การตลาดแบบ ลด แลก แจก แถม คงจะหมดไป (มีต่อ)Summary: ทั้งนี้ผู้บริโภค จะใส่ใจ ในตัวสินค้าที่โดดเด่น มีเอกลักษณ์ และคาดว่าสินค้า จากแหล่งผลิตต่างๆ จะมีการแข่งขัน ทุกรูปแบบ เพื่อตรงใจผู้บริโภค เป็นสำคัญ ปัจจัยที่สำคัญที่เกื้อหนุน ให้เศรษฐกิจไทยโตอย่าางยั่งยืน คือ (มีต่อ)Summary: ปัจจัยทาง ด้านการเงิน ในช่วงวิกฤต ที่ผ่านมา เม็ดเงินที่ปล่อยให้กับ ผู้ประกอบการ มีน้อยมาก ทำให้เศรษฐกิจ ซบเซา นอกจากนี้ ปัญหาการชำระเงิน ของลูกหนี้ ด้อยคุณภาพ มีอยู่มากมาย ในระบบสถาบันการเงิน ทำให้เกิดปัญหา (มีต่อ)Summary: หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL:Non Profit Loan) เมื่อภาพการแก้ไขปัญหา NPL ยังไม่ชัดเจน การอาศัยแหล่งเงินทุน จากต่างประเทศ เข้ามาเป็นเรื่องที่ยาก เพราะนักลงทุนต่างชาติ ยังไม่เชื่อมั่นเศรษฐกิจ ในประเทศ (มีต่อ)Summary: เพราะฉะนั้น ทิศทางเศรษฐกิจ ในปี2000 ผู้ประกอบการ ต้องปรับตัว ทั้งการพัฒนา บุคลากร การบริหาร การผลิต และต้องเข้าใจ ข้อตกลงทางการค้า กับประเทศคู่ค้า เพื่อเป็นการเตรียม ความพร้อม ในการก้าวสู่ สนามแข่งขัน (มีต่อ)Summary: ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการ ต้องคำนึงถึง การผลิตสินค้า ที่ต้องมุ่งมั่นพัฒนา สู้กับตลาดโลก ไม่ใช่หวังขายเฉพาะ ผู้บริโภค ภายในประเทศเท่านั้น รวมทั้งให้ความสำคัญ กับต้นทุนการผลิต การทำบัญชี ที่เป็นสากล เนื่องจากปัจจัยเหล่านี้ (มีต่อ)Summary: จะเป็นตัวชี้สมรรถนะ ของผู้ประกอบการ ในยุคศตวรรษ ที่ 21 ที่ชัดเจน ในส่วนของภาครัฐ ควรมีนโยบาย การพัฒนา ประเทศ และเสถียรภาพ ของรัฐบาล ที่ชัดเจน เพื่อที่จะช่วยสร้าง ความมั่นใจ กับนักลงทุนชาวต่างชาติ ให้เข้ามาลงทุน ในประเทศ มากกว่าเดิม
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ทิศทาง เศรษฐกิจ ของไทย ในปี2000 ต้องมีปรับตัว เนื่องจาก กระแสการค้า ยุคโลกาภิวัฒน์ ได้กดดันสินค้าไทย อย่างมาก ทั้งนี้ตั้งแต่ 1มกราคม 2543 เป็นต้นไป ไทยต้องเข้าสู่ กรอบปฏิบัติ ของ WTO (มีต่อ)

และข้อตกลง ของการค้า เสรีอาเซียน (AFTA) ส่งผลให้ประเทศไทย ยกเลิก การเก็บภาษี สินค้านำเข้า หรือเก็บไม่เกิน 5% ในสินค้าที่นำเข้า หลายรายการ อีกทั้ง ยกเลิก มาตรการ คุ้มครองผู้ผลิต ภายในประเทศ และมาตรการต่างๆ (มีต่อ)

ตามข้อพันธกรณีต่างๆ ที่กำหนด ไว้ในข้อตกลง ทางการค้า กับประเทศสมาชิก ภาพที่เกิดขึ้น กับประเทศไทย ในปี2000 ชัดเจนที่สุดคือ การเปิดตลาดแข่งขัน กันอย่างเสรี ในอนาคต การตลาดแบบ ลด แลก แจก แถม คงจะหมดไป (มีต่อ)

ทั้งนี้ผู้บริโภค จะใส่ใจ ในตัวสินค้าที่โดดเด่น มีเอกลักษณ์ และคาดว่าสินค้า จากแหล่งผลิตต่างๆ จะมีการแข่งขัน ทุกรูปแบบ เพื่อตรงใจผู้บริโภค เป็นสำคัญ ปัจจัยที่สำคัญที่เกื้อหนุน ให้เศรษฐกิจไทยโตอย่าางยั่งยืน คือ (มีต่อ)

ปัจจัยทาง ด้านการเงิน ในช่วงวิกฤต ที่ผ่านมา เม็ดเงินที่ปล่อยให้กับ ผู้ประกอบการ มีน้อยมาก ทำให้เศรษฐกิจ ซบเซา นอกจากนี้ ปัญหาการชำระเงิน ของลูกหนี้ ด้อยคุณภาพ มีอยู่มากมาย ในระบบสถาบันการเงิน ทำให้เกิดปัญหา (มีต่อ)

หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL:Non Profit Loan) เมื่อภาพการแก้ไขปัญหา NPL ยังไม่ชัดเจน การอาศัยแหล่งเงินทุน จากต่างประเทศ เข้ามาเป็นเรื่องที่ยาก เพราะนักลงทุนต่างชาติ ยังไม่เชื่อมั่นเศรษฐกิจ ในประเทศ (มีต่อ)

เพราะฉะนั้น ทิศทางเศรษฐกิจ ในปี2000 ผู้ประกอบการ ต้องปรับตัว ทั้งการพัฒนา บุคลากร การบริหาร การผลิต และต้องเข้าใจ ข้อตกลงทางการค้า กับประเทศคู่ค้า เพื่อเป็นการเตรียม ความพร้อม ในการก้าวสู่ สนามแข่งขัน (มีต่อ)

ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการ ต้องคำนึงถึง การผลิตสินค้า ที่ต้องมุ่งมั่นพัฒนา สู้กับตลาดโลก ไม่ใช่หวังขายเฉพาะ ผู้บริโภค ภายในประเทศเท่านั้น รวมทั้งให้ความสำคัญ กับต้นทุนการผลิต การทำบัญชี ที่เป็นสากล เนื่องจากปัจจัยเหล่านี้ (มีต่อ)

จะเป็นตัวชี้สมรรถนะ ของผู้ประกอบการ ในยุคศตวรรษ ที่ 21 ที่ชัดเจน ในส่วนของภาครัฐ ควรมีนโยบาย การพัฒนา ประเทศ และเสถียรภาพ ของรัฐบาล ที่ชัดเจน เพื่อที่จะช่วยสร้าง ความมั่นใจ กับนักลงทุนชาวต่างชาติ ให้เข้ามาลงทุน ในประเทศ มากกว่าเดิม

Share