โครงการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาลเพื่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | น้ำบาดาล | การอนุรักษ์น้ำ In: วิศวกรรมสาร ปีที่ 53 เล่มที่ 10 (ตุลาคม 2543) หน้า 48-52Summary: โครงการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาลเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์ที่จะบรรเทาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการใช้น้ำบาดาล บรรเทาปัญหาการทรุดตัวของแผ่นดินในพื้นที่ดำเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการไหลของน้ำเค็มเข้าสู่ชั้นน้ำบาดาล อนุรักษ์ทรัพยากรน้ำบาดาล ให้สามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน (มีต่อ)Summary: นำน้ำเหลือใช้บนผิวดินไปกักเก็บไว้ในชั้นน้ำบาดาล นำการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาล แบบครบวงจรมาใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรของประเทศเป็นตัวอย่างที่ดีในการใช้ทรัพยากรของชาติ โดยนำ หลักการ PPP (Polluter Pay Principle) มาใช้ เพื่อให้ผู้ใช้น้ำบาดาลมีสำนึกรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้น้ำบาดาล (มีต่อ)Summary: ปัญหาแผ่นดินทรุดและการรุกล้ำของน้ำเค็ม เป็นปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องทำการแก้ไข แต่การเติมน้ำลงในชั้นน้ำบาดาลเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ยังไม่เคยมีการดำเนินการในประเทศไทย ดังนั้น จึงต้องทำในพื้นที่โครงการเร่งด่วน ได้แก่ พื้นที่กรุงเทพมหานคร ในส่วน มีนบุรี ลำลูกกา นนทบุรี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร พร้อมดำเนินการก่อสร้าง ติดตั้งสถานี ติดตั้งสถานีเติมน้ำ (มีต่อ)Summary: และบ่อสังเกตการณ์สำหรับการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาล และติดตามผลการแก้ไขผลกระทบ ในบริเวณพื้นที่โครงการเร่งด่วน จำนวน 33 สถานี เดินระบบการเติมน้ำในแต่ละสถานี 5,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และพัฒนาระบบตรวจสอบ ติดตามและเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลสำหรับปรับปรุงและต่อหรือขยายประเมินผลแผนการดำเนินการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาล และการบิรหารจัดการทรัพยกรน้ำบาดาลอย่างมีประสิทธิภาพในระยะต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โครงการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาลเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์ที่จะบรรเทาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการใช้น้ำบาดาล บรรเทาปัญหาการทรุดตัวของแผ่นดินในพื้นที่ดำเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการไหลของน้ำเค็มเข้าสู่ชั้นน้ำบาดาล อนุรักษ์ทรัพยากรน้ำบาดาล ให้สามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน (มีต่อ)

นำน้ำเหลือใช้บนผิวดินไปกักเก็บไว้ในชั้นน้ำบาดาล นำการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาล แบบครบวงจรมาใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรของประเทศเป็นตัวอย่างที่ดีในการใช้ทรัพยากรของชาติ โดยนำ หลักการ PPP (Polluter Pay Principle) มาใช้ เพื่อให้ผู้ใช้น้ำบาดาลมีสำนึกรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้น้ำบาดาล (มีต่อ)

ปัญหาแผ่นดินทรุดและการรุกล้ำของน้ำเค็ม เป็นปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องทำการแก้ไข แต่การเติมน้ำลงในชั้นน้ำบาดาลเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ยังไม่เคยมีการดำเนินการในประเทศไทย ดังนั้น จึงต้องทำในพื้นที่โครงการเร่งด่วน ได้แก่ พื้นที่กรุงเทพมหานคร ในส่วน มีนบุรี ลำลูกกา นนทบุรี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร พร้อมดำเนินการก่อสร้าง ติดตั้งสถานี ติดตั้งสถานีเติมน้ำ (มีต่อ)

และบ่อสังเกตการณ์สำหรับการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาล และติดตามผลการแก้ไขผลกระทบ ในบริเวณพื้นที่โครงการเร่งด่วน จำนวน 33 สถานี เดินระบบการเติมน้ำในแต่ละสถานี 5,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และพัฒนาระบบตรวจสอบ ติดตามและเก็บข้อมูลเพื่อประเมินผลสำหรับปรับปรุงและต่อหรือขยายประเมินผลแผนการดำเนินการเติมน้ำลงชั้นน้ำบาดาล และการบิรหารจัดการทรัพยกรน้ำบาดาลอย่างมีประสิทธิภาพในระยะต่อไป