กรรมวิธีทางความร้อนและโลหะวิทยาสำหรับการซ่อมแซมชิ้นส่วนแตกหัก

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เครื่องจักรกล -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 27 ฉบับที่ 154 (ธันวาคม 2543 - มกราคม 2544) หน้า 145-148Summary: จากการลองผิดลองถูกของช่างและวัดผลโดยการใช้งานจริงจนได้ผล และนำสิ่งที่ได้ดำเนินการได้ผลแล้วนี้มาศึกษาย้อนกลับไปถึงเหตุผลด้านโลหะวิทยา และกรรมวิธีทางความร้อน ทำให้สามารถอธิบายได้ถึงเหตุผลของผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งสามารถใช้หลักการเดียวกันนี้ในการซ่อมแซมชิ้นส่วนเครื่องจักรกลอีกหลายชิ้นได้ ในเงื่อนไขที่คล้ายคลึงกัน การซ่อมใช้เวลาประมาณ 2-4 ชั่วโมง ค่าซ่อมประมาณ 800-1,000 บาท (มีต่อ)Summary: ในขณะที่ของใหม่ราคาไม่น้อยกว่า 2,000 บาท ที่สำคัญคือแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้รวดเร็ว แม้ว่าวิธีการนี้อาจจะยังไม่ใช่ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด แต่การจะยืนยันว่าวิธีไหนดีที่สุดต้องได้รับการทดลองจริง และวิธีนี้เป็นวิธีหนึ่งที่ผ่านการทดลองและยืนยันว่าใช้งานได้จริง อีกประเด็นที่น่าจะพิจารณาคือ การหาสาเหตุและการป้องกันไม่ให้เกิดการเสียหายนี้อีก เป็นที่ทราบกันดีว่าการใช้รถบรรทุกในประเทศไทย (มีต่อ)Summary: บรรทุกน้ำหนักเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด แต่ผู้ผลิตก็มักจะออกแบบให้สามารถบรรทุกได้เกิน เพียงแต่ไม่ทราบว่าตัวเลขที่แท้จริงควรเป็นเท่าใด ขณะเดียวกันก่อนที่เพลาจะร้าวขาดนั้น จะมีรอยร้าวเกิดขึ้นก่อน ซึ่งสามารถตรวจสอบพบโดยการตรวจสอบแบบไม่ทำลาย (NDT) ได้ไม่ยาก ถ้ามีการกำหนดให้ตรวจสอบหารอยร้าวในช่วงเวลาที่เหมาะสมก็จะสามารถป้องกันการขาดของเพลาขณะใช้งานรถบรรทุกได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จากการลองผิดลองถูกของช่างและวัดผลโดยการใช้งานจริงจนได้ผล และนำสิ่งที่ได้ดำเนินการได้ผลแล้วนี้มาศึกษาย้อนกลับไปถึงเหตุผลด้านโลหะวิทยา และกรรมวิธีทางความร้อน ทำให้สามารถอธิบายได้ถึงเหตุผลของผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งสามารถใช้หลักการเดียวกันนี้ในการซ่อมแซมชิ้นส่วนเครื่องจักรกลอีกหลายชิ้นได้ ในเงื่อนไขที่คล้ายคลึงกัน การซ่อมใช้เวลาประมาณ 2-4 ชั่วโมง ค่าซ่อมประมาณ 800-1,000 บาท (มีต่อ)

ในขณะที่ของใหม่ราคาไม่น้อยกว่า 2,000 บาท ที่สำคัญคือแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้รวดเร็ว แม้ว่าวิธีการนี้อาจจะยังไม่ใช่ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด แต่การจะยืนยันว่าวิธีไหนดีที่สุดต้องได้รับการทดลองจริง และวิธีนี้เป็นวิธีหนึ่งที่ผ่านการทดลองและยืนยันว่าใช้งานได้จริง อีกประเด็นที่น่าจะพิจารณาคือ การหาสาเหตุและการป้องกันไม่ให้เกิดการเสียหายนี้อีก เป็นที่ทราบกันดีว่าการใช้รถบรรทุกในประเทศไทย (มีต่อ)

บรรทุกน้ำหนักเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด แต่ผู้ผลิตก็มักจะออกแบบให้สามารถบรรทุกได้เกิน เพียงแต่ไม่ทราบว่าตัวเลขที่แท้จริงควรเป็นเท่าใด ขณะเดียวกันก่อนที่เพลาจะร้าวขาดนั้น จะมีรอยร้าวเกิดขึ้นก่อน ซึ่งสามารถตรวจสอบพบโดยการตรวจสอบแบบไม่ทำลาย (NDT) ได้ไม่ยาก ถ้ามีการกำหนดให้ตรวจสอบหารอยร้าวในช่วงเวลาที่เหมาะสมก็จะสามารถป้องกันการขาดของเพลาขณะใช้งานรถบรรทุกได้