โครงการเฉลิมพระเกียรติ "อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมถวายในหลวง " / สุภัทรา ภิญโญกิตติกุล

By: สุภัทรา ภิญโญกิตติกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | การอนุรักษ์พลังงาน | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 12 (ธันวาคม 2542) หน้า 41 - 44Summary: ในช่วงปี 2541-2542 ประเทศไทย รณณรงค์ ให้เป็นปี แห่งการอนุรักษ์ พลังงานไทย เพื่อช่วยกัน รักษาพลังงาน ให้สามารถ มีมากเพียงพอ ต่อการใช้จ่าย ในอนาคต ทั้งภาครัฐ และ เอกชน ต่างร่วมมือ กันจัดทำ "โครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว (มีต่อ)Summary: เนื่องในวโรกาส พระราชพิธี มหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 โดยการ นำพลังงาน ทดแทนมาใช้ เพื่ออนุรักษ์ พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม ตามโครงการ อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ "เพื่อช่วยกอบกู้ เศรษฐกิจ และ รักษาสภาพแวดล้อม ด้วยพลังงาน ทดแทน (มีต่อ)Summary: ทางด้าน คณะกรรมธิการพลังงาน สภาผู้แทนราษฏร ได้ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ (กปร.) กองทุนเพื่อส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโบาย พลังงานแห่งชาติ ตลอดจน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน รวม 30 หน่วยงงาน (มีต่อ)Summary: ร่วมจัดทำ โครงการ นำพลังงานสะอาด พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานรูปอื่น ไปใช้เสริมกิจกรรม ในโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ นอกจากจะมี การติดตั้ง ระบบพลังงาน ทดแทนกว่า 150 ระบบ แล้ว (มีต่อ)Summary: ยังได้มี การคิดค้น อุปกรณ์ พลังงาน ทดแทนใหม่ๆ โดยฝีมือคนไทย เช่น กังหันลมสูบน้ำ ชุดแสงไฟล่อแมลง ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า ฯลฯ สำหรับ ผลที่คาดว่า จะได้รับจาก การดำเนินงาน โครงการคือ ประชาชนคนไทย จะซาบซึ้ง (มีต่อ)Summary: ในพระมหากรุณาธิคุณ และ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ได้พระราชทาน โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ ซึ่งทรง พระราชประสงค์ ที่จะพัฒนาที่ดิน แหล่งน้ำ อากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ ให้สมดุล เหมาะสมต่อการยังชีพ และสามารถ ก่อให้เกิด รายได้สูงขึ้น (มีต่อ)Summary: รวมทั้ง ยังได้รับ ประโยชน์ จากการนำ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อน พลังงานชีวภาพ ไปใช้ในงาน ทั้งรูปแบบ การสาธิต กาารใช้งานจริง ในพื้นที่ชนบท ที่ห่างไกล ทำให้เกิด การผลิตกระแสไฟฟ้า การผลิตน้ำ การผลิตความร้อน และการปรับ สภาพผิวดิน น้ำ (มีต่อ)Summary: เพื่อทำให้ ประเทศไทย มีต้นไม้ สัตว์น้ำ มีสภาพแวดล้อม อุดมสมบูรณ์ มากขึ้น ขณะเดียวกัน ยังช่วยให้ ประชาชน คนไทยรู้จัก เทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนดีขึ้น สามารถนำไป ใช้งาน ได้จริง และก่อให้เกิด การกระตุ้น สร้างเทคโนโลยี ทรัพยากรบุคล อุตสาหกรรม ด้านพลังงาน ทดแทนขึ้น อย่างจริงจัง ต่อไปในอนาคต
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในช่วงปี 2541-2542 ประเทศไทย รณณรงค์ ให้เป็นปี แห่งการอนุรักษ์ พลังงานไทย เพื่อช่วยกัน รักษาพลังงาน ให้สามารถ มีมากเพียงพอ ต่อการใช้จ่าย ในอนาคต ทั้งภาครัฐ และ เอกชน ต่างร่วมมือ กันจัดทำ "โครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว (มีต่อ)

เนื่องในวโรกาส พระราชพิธี มหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 โดยการ นำพลังงาน ทดแทนมาใช้ เพื่ออนุรักษ์ พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม ตามโครงการ อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ "เพื่อช่วยกอบกู้ เศรษฐกิจ และ รักษาสภาพแวดล้อม ด้วยพลังงาน ทดแทน (มีต่อ)

ทางด้าน คณะกรรมธิการพลังงาน สภาผู้แทนราษฏร ได้ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ (กปร.) กองทุนเพื่อส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโบาย พลังงานแห่งชาติ ตลอดจน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน รวม 30 หน่วยงงาน (มีต่อ)

ร่วมจัดทำ โครงการ นำพลังงานสะอาด พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานรูปอื่น ไปใช้เสริมกิจกรรม ในโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ นอกจากจะมี การติดตั้ง ระบบพลังงาน ทดแทนกว่า 150 ระบบ แล้ว (มีต่อ)

ยังได้มี การคิดค้น อุปกรณ์ พลังงาน ทดแทนใหม่ๆ โดยฝีมือคนไทย เช่น กังหันลมสูบน้ำ ชุดแสงไฟล่อแมลง ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า ฯลฯ สำหรับ ผลที่คาดว่า จะได้รับจาก การดำเนินงาน โครงการคือ ประชาชนคนไทย จะซาบซึ้ง (มีต่อ)

ในพระมหากรุณาธิคุณ และ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ได้พระราชทาน โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ ซึ่งทรง พระราชประสงค์ ที่จะพัฒนาที่ดิน แหล่งน้ำ อากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ ให้สมดุล เหมาะสมต่อการยังชีพ และสามารถ ก่อให้เกิด รายได้สูงขึ้น (มีต่อ)

รวมทั้ง ยังได้รับ ประโยชน์ จากการนำ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อน พลังงานชีวภาพ ไปใช้ในงาน ทั้งรูปแบบ การสาธิต กาารใช้งานจริง ในพื้นที่ชนบท ที่ห่างไกล ทำให้เกิด การผลิตกระแสไฟฟ้า การผลิตน้ำ การผลิตความร้อน และการปรับ สภาพผิวดิน น้ำ (มีต่อ)

เพื่อทำให้ ประเทศไทย มีต้นไม้ สัตว์น้ำ มีสภาพแวดล้อม อุดมสมบูรณ์ มากขึ้น ขณะเดียวกัน ยังช่วยให้ ประชาชน คนไทยรู้จัก เทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนดีขึ้น สามารถนำไป ใช้งาน ได้จริง และก่อให้เกิด การกระตุ้น สร้างเทคโนโลยี ทรัพยากรบุคล อุตสาหกรรม ด้านพลังงาน ทดแทนขึ้น อย่างจริงจัง ต่อไปในอนาคต