อันตรายเกี่ยวกับไม้ / ภาวนา ปริยวาทกุล

By: ภาวนา ปริยวาทกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | อันตรายจากไม้ In: โรงงาน ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (มิถุนายน - กันยายน 2542) หน้า 72-75Summary: ในทางชีววิทยา สามารถแบ่งไม้ออกเป็น 3 กลุ่มคือ 1.ไม้ที่เป็นพิษหรือทำให้เกิดอาการแพ้ 2.ไม้ที่มีฤทธิ์ทางชีววิทยา 3.ไม้ที่ไม่มีฤทธิ์ทางชีววิทยา ความเป็นพิษของไม้ในระยะแรกจะเริ่มด้วยอาการระคายเคือง รวมถึงมีอาการทางผิวหนังในบุคคลที่ทำงานกับไม้สดๆ จะเกิดการอักเสบจากการที่ผิวหนังสัมผัสกับไม้ ลักษณะและระดับความรุนแรงของโรค (มีต่อ)Summary: ซึ่งเป็นจากอาชีพที่สัมผัสกับไม้จะผันแปรตามสภาพแวดล้อมในการทำงาน กระบวนการผลิต ชนิดของไม้และอื่นๆ มาตรการป้องกัน การป้องกันทางด้านเทคนิค 1.กำจัดฝุ่นโดยจัดให้มีระบบการระบายอากาศที่เหมาะสม รวมทั้งการติดตั้งเครื่องดูดอากาศตามความจำเป็น 2.จัดให้มีการควบคุมคุณภาพอากาศในพื้นที่ปฏิบัติงาน (มีต่อ)Summary: 3.จัดให้คนงานมีเครื่องป้องกันระบบทางเดินหายใจ ถ้าระบบกำจัดฝุ่นที่กล่าวมาข้างต้นไม่สามารถกำจัดฝุ่นได้หมด การป้องกันในทางด้านการแพทย์คือ 1.ควรจัดการตรวจสุขภาพลูกจ้างก่อนรับเข้าทำงาน และควรแยกผู้สมัครที่มีประวัติการแพ้ 2.ควรมีการทดสอบภูมิแพ้ของสารที่สกัดจากไม้ซึ่งคาดว่าพวกเขาจะต้องสัมผัส (มีต่อ)Summary: และเมื่อต้องสัมผัสกับไม้พันธุ์อื่นหรือไม้ที่เขายังไม่เคยสัมผัสมาก่อนควรทำการทดสอบความเป็นพิษหรืออาการแพ้ด้วยความระวัง 3.ควรทำการตรวจสุขภาพของคนงานถึงอาการที่เกิดจากการสัมผัสกับไม้เป็นระยะๆ ตรวจดูว่าบุคคลใดที่มีอาการเกิดขึ้น (มีต่อ)Summary: เช่นเดียวกับคนงานใดมีอาการเกิดขึ้นซ้ำๆ หลังจากการได้สัมผัส ควรสับเปลี่ยนให้ไปทำงานในหน้าที่ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดการแพ้ การตรวจสุขภาพเป็นระยะๆ เป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจากการตรวจพบอาการที่เกิดขึ้นในคนงานจำนวนมากในระยะต้นๆ จะแสดงถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการป้องกันทางด้านเทคนิค
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในทางชีววิทยา สามารถแบ่งไม้ออกเป็น 3 กลุ่มคือ 1.ไม้ที่เป็นพิษหรือทำให้เกิดอาการแพ้ 2.ไม้ที่มีฤทธิ์ทางชีววิทยา 3.ไม้ที่ไม่มีฤทธิ์ทางชีววิทยา ความเป็นพิษของไม้ในระยะแรกจะเริ่มด้วยอาการระคายเคือง รวมถึงมีอาการทางผิวหนังในบุคคลที่ทำงานกับไม้สดๆ จะเกิดการอักเสบจากการที่ผิวหนังสัมผัสกับไม้ ลักษณะและระดับความรุนแรงของโรค (มีต่อ)

ซึ่งเป็นจากอาชีพที่สัมผัสกับไม้จะผันแปรตามสภาพแวดล้อมในการทำงาน กระบวนการผลิต ชนิดของไม้และอื่นๆ มาตรการป้องกัน การป้องกันทางด้านเทคนิค 1.กำจัดฝุ่นโดยจัดให้มีระบบการระบายอากาศที่เหมาะสม รวมทั้งการติดตั้งเครื่องดูดอากาศตามความจำเป็น 2.จัดให้มีการควบคุมคุณภาพอากาศในพื้นที่ปฏิบัติงาน (มีต่อ)

3.จัดให้คนงานมีเครื่องป้องกันระบบทางเดินหายใจ ถ้าระบบกำจัดฝุ่นที่กล่าวมาข้างต้นไม่สามารถกำจัดฝุ่นได้หมด การป้องกันในทางด้านการแพทย์คือ 1.ควรจัดการตรวจสุขภาพลูกจ้างก่อนรับเข้าทำงาน และควรแยกผู้สมัครที่มีประวัติการแพ้ 2.ควรมีการทดสอบภูมิแพ้ของสารที่สกัดจากไม้ซึ่งคาดว่าพวกเขาจะต้องสัมผัส (มีต่อ)

และเมื่อต้องสัมผัสกับไม้พันธุ์อื่นหรือไม้ที่เขายังไม่เคยสัมผัสมาก่อนควรทำการทดสอบความเป็นพิษหรืออาการแพ้ด้วยความระวัง 3.ควรทำการตรวจสุขภาพของคนงานถึงอาการที่เกิดจากการสัมผัสกับไม้เป็นระยะๆ ตรวจดูว่าบุคคลใดที่มีอาการเกิดขึ้น (มีต่อ)

เช่นเดียวกับคนงานใดมีอาการเกิดขึ้นซ้ำๆ หลังจากการได้สัมผัส ควรสับเปลี่ยนให้ไปทำงานในหน้าที่ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดการแพ้ การตรวจสุขภาพเป็นระยะๆ เป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจากการตรวจพบอาการที่เกิดขึ้นในคนงานจำนวนมากในระยะต้นๆ จะแสดงถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการป้องกันทางด้านเทคนิค