เยี่ยมศูนย์ปฏิบัติพันธุวิศวกรรม กระบวนการสร้างพืชจำลอง : GMO / สุภัทรา ภิญโญกิตติกุล

By: สุภัทรา ภิญโญกิตติกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | พืชจำลอง | เทคนิคการตัดต่อยีน In: วิศวกรรมสาร ฉบับ ว.ส.ท. เทคโนโลยี ปีที่ 53 เล่มที่ 1 (มกราคม 2543) หน้า 34-38Summary: ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีว่าด้วยกระบวนการปรับแต่งพันธุกรรม หรือที่เรียกว่า "เทคนิคการตัดต่อยีน" (Genetically Modified Organisms) GMO ปัจจุบันกำลังเป็นประเด็นร้อนแรงมากขึ้น หลังจากมีกลุ่มคัดค้าน กลุ่มสนับสนุนพยายามป้อนข้อมูลออกสู่สาธารณะ ส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับวัตถุดิบ (มีต่อ)Summary: ผลิตภัณฑ์แปรรูปที่มาจากพืชประเภทถั่วเหลือง ข้าวโพด ข้าวสาลี แป้งข้าวเจ้า หรือผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง และสัตว์ที่ได้รับการตัดต่อยีน ว่ามีความปลอดภัยทางด้านชีวภาพมากน้อยแค่ไหน ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้ง "หน่วยปฏิบัติการพันธุวิศวกรรมด้านพืช" (มีต่อ)Summary: สำหรับค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับพืชจำลองพันธุ์ชนิดต่างๆ และจัดตั้ง "ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี" เพื่อให้บริการแก่ภาครัฐและเอกชนในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์หรือวัตถุประสงค์ดิบว่าเป็น GMO หรือไม่ ซึ่งศูนย์ดังกล่าวตั้งอยู่บริเวณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม พืชจำลองพันธุ์ เป็นพืชที่ได้รับการถ่ายยีนหรือชิ้นส่วนของสารพันธุกรรมดีเอ็นเอ (DNA) จากพืช สัตว์ จุลินทรีย์ โดยพืชที่ได้รับการถ่ายยีนส่วนใหญ่ (มีต่อ)Summary: จะคงลักษณะเดิมไว้พร้อมกับแสดงลักษณะเฉพาะของยีนที่ถ่ายให้หรือจำลองให้เพิ่มเติม ซึ่งลักษณะเฉพาะดังกล่าวสามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูก รุ่นหลานได้เหมือนกับถ่ายทอดลักษณะประจำพันธุ์ของพืชนั้นๆ ดังนั้นการสร้างพืชจำลองพันธุ์สามารถแบ่งขั้นตอนตั้งแต่การเตรียมพืชสำหรับการถ่ายยีน การเตรียมยีน การตรวจสอบ การแสดงออกของยีน และการเพิ่มปริมาณพืชจำลองพันธุ์
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีว่าด้วยกระบวนการปรับแต่งพันธุกรรม หรือที่เรียกว่า "เทคนิคการตัดต่อยีน" (Genetically Modified Organisms) GMO ปัจจุบันกำลังเป็นประเด็นร้อนแรงมากขึ้น หลังจากมีกลุ่มคัดค้าน กลุ่มสนับสนุนพยายามป้อนข้อมูลออกสู่สาธารณะ ส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับวัตถุดิบ (มีต่อ)

ผลิตภัณฑ์แปรรูปที่มาจากพืชประเภทถั่วเหลือง ข้าวโพด ข้าวสาลี แป้งข้าวเจ้า หรือผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง และสัตว์ที่ได้รับการตัดต่อยีน ว่ามีความปลอดภัยทางด้านชีวภาพมากน้อยแค่ไหน ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้ง "หน่วยปฏิบัติการพันธุวิศวกรรมด้านพืช" (มีต่อ)

สำหรับค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับพืชจำลองพันธุ์ชนิดต่างๆ และจัดตั้ง "ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี" เพื่อให้บริการแก่ภาครัฐและเอกชนในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์หรือวัตถุประสงค์ดิบว่าเป็น GMO หรือไม่ ซึ่งศูนย์ดังกล่าวตั้งอยู่บริเวณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม พืชจำลองพันธุ์ เป็นพืชที่ได้รับการถ่ายยีนหรือชิ้นส่วนของสารพันธุกรรมดีเอ็นเอ (DNA) จากพืช สัตว์ จุลินทรีย์ โดยพืชที่ได้รับการถ่ายยีนส่วนใหญ่ (มีต่อ)

จะคงลักษณะเดิมไว้พร้อมกับแสดงลักษณะเฉพาะของยีนที่ถ่ายให้หรือจำลองให้เพิ่มเติม ซึ่งลักษณะเฉพาะดังกล่าวสามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูก รุ่นหลานได้เหมือนกับถ่ายทอดลักษณะประจำพันธุ์ของพืชนั้นๆ ดังนั้นการสร้างพืชจำลองพันธุ์สามารถแบ่งขั้นตอนตั้งแต่การเตรียมพืชสำหรับการถ่ายยีน การเตรียมยีน การตรวจสอบ การแสดงออกของยีน และการเพิ่มปริมาณพืชจำลองพันธุ์