ระบบทำน้ำร้อนด้วยแสงอาทิตย์ เพื่อลดการใช้เชื้อเพลิงของหม้อกำเนิดไอน้ำ (BOILER)

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เชื้อเพลิง | พลังงานแสงอาทิตย์ | หม้อไอน้ำ In: โลกใบใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 126 (มีนาคม 2543) หน้า 12 - 15Summary: มลภาวะที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงเป็นพลังงานจะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร เพื่อให้เกิดความเป็นรูปธรรมและใกล้ตัวมากขึ้น จึงมีการเสนอบทความนำเสนอผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ และผลร้ายอันเนื่องมาจากของเสียหลังจากเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง สารพิษที่พบมากเมื่อใช้เชื้อเพลิง ในการเผาไหม้หรือให้ความร้อน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ CO2 ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ Co ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ SOx ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ NOx สารปรอท สารตะกั่ว ฝุ่นละอองและฝุ่นมลพิษอื่นๆ ผลกระทบจากสารพิษ จะทำให้เกิด สภาวะเรือนกระจกของโลก (มีต่อ)Summary: เกิดฝนกรด ทำลายพืชไร่ เกิดอากาศเป็นพิษ โรคทางเดินอาหาร โรคทางเดินหายใจ อื่นๆ จากข้อมูลของโครงการนำร่องด้านการอนุรักษ์พลังงานของ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พบว่าถ้าลดการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงได้ 70,500 ถึง 12,000 ลิตรต่อปี จะสามารถลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณ 35 ตัน/ปี ลดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ได้ประมาณ 2 ตัน/ปี ลดการปล่อยก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ประมาณ 0.2 ตัน/ปี (มีต่อ)Summary: จากการที่ได้มีการสำรวจเปรียบเทียบปริมาณแหล่งกำเนิดสารพิษเปรียบเทียบในกรณีใช้น้ำมัน จากโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร และกรณีการใช้น้ำมันเตาเปรียบเทียบกับรถบรรทุก 10 ล้อ พบว่า โรงพยาบาลทั้ง 10 แห่งในกรุงเทพมหานคร ขณะเดินเครื่องกำเนิดไอน้ำพร้อมกันใน 8 ชั่วโมง สามารถเทียบได้กับรถบรรทุก 10 ล้อ วิ่งอยู่รอบโรงพยาบาลทั้ง 10 แห่ง เป็นเวลา 8 ชั่วโมง โดยไม่หยุดพักถึง 10,040 กรัม จึงได้มีการสรุปว่า หากโรงพยาบาลที่มีการใช้น้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิง ให้กับเครื่องกำเนิดไอน้ำ (BOILER) จะพบสารพิษตกค้างในปริมาณที่ลดลง และน้อยกว่า การใช้น้ำมันเตาธรรมดาอย่างเดียว
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

มลภาวะที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิงเป็นพลังงานจะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร เพื่อให้เกิดความเป็นรูปธรรมและใกล้ตัวมากขึ้น จึงมีการเสนอบทความนำเสนอผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ และผลร้ายอันเนื่องมาจากของเสียหลังจากเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น น้ำมันเตา น้ำมันดีเซล ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง สารพิษที่พบมากเมื่อใช้เชื้อเพลิง ในการเผาไหม้หรือให้ความร้อน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ CO2 ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ Co ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ SOx ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ NOx สารปรอท สารตะกั่ว ฝุ่นละอองและฝุ่นมลพิษอื่นๆ ผลกระทบจากสารพิษ จะทำให้เกิด สภาวะเรือนกระจกของโลก (มีต่อ)

เกิดฝนกรด ทำลายพืชไร่ เกิดอากาศเป็นพิษ โรคทางเดินอาหาร โรคทางเดินหายใจ อื่นๆ จากข้อมูลของโครงการนำร่องด้านการอนุรักษ์พลังงานของ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พบว่าถ้าลดการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงได้ 70,500 ถึง 12,000 ลิตรต่อปี จะสามารถลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณ 35 ตัน/ปี ลดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ได้ประมาณ 2 ตัน/ปี ลดการปล่อยก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ประมาณ 0.2 ตัน/ปี (มีต่อ)

จากการที่ได้มีการสำรวจเปรียบเทียบปริมาณแหล่งกำเนิดสารพิษเปรียบเทียบในกรณีใช้น้ำมัน จากโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร และกรณีการใช้น้ำมันเตาเปรียบเทียบกับรถบรรทุก 10 ล้อ พบว่า โรงพยาบาลทั้ง 10 แห่งในกรุงเทพมหานคร ขณะเดินเครื่องกำเนิดไอน้ำพร้อมกันใน 8 ชั่วโมง สามารถเทียบได้กับรถบรรทุก 10 ล้อ วิ่งอยู่รอบโรงพยาบาลทั้ง 10 แห่ง เป็นเวลา 8 ชั่วโมง โดยไม่หยุดพักถึง 10,040 กรัม จึงได้มีการสรุปว่า หากโรงพยาบาลที่มีการใช้น้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิง ให้กับเครื่องกำเนิดไอน้ำ (BOILER) จะพบสารพิษตกค้างในปริมาณที่ลดลง และน้อยกว่า การใช้น้ำมันเตาธรรมดาอย่างเดียว