The effect of fillers and PVC compounds on fusion properties studies by torque Rheometer / Somsak Woramongconchai

By: Somsak WoramongconchaiCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): วิทยาศาสตร์ -- การทดลอง | SCI-TECH In: วิทยาศาสตร์ลาดกระบัง ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2541) หน้า 27 - 42Summary: แฮเกบูชเลอร์ทอร์ครีโอมิเตอร์ถูกนำมาใช้ในการทำสารประกอบ PVC โดยนำสารประกอบไวนิลชนิดแข็งและพลาสติกไซค์ 100% 80% 70% และ 60% ผสมในสัดส่วนโดยตรงกับฟิลเลอร์ได้แก่ พลูเวอร์ไรซ์ ไลม์สโตน ทาลครัม ไมก้า วอลลาสโตไนท์ และแคลเซียมคาร์บอเนตในแต่ละสูตรผสมของ PVC /ฟิลเลอร์ โดยใช้ทอร์ค อุณหภูมิ เวลา (การหลอม) และความเข้มข้นของฟิลเลอร์เป็นข้อมูลจำแนกลักษณะของสูตรผสม ผลที่ได้แสดงว่าชนิดและความเข้มข้นของสารประกอบ PVC และฟิลเลอร์มีผลต่อทอร์ค อุณหภูมิและเวลาในการหลอมพบว่า ยังมีปริมาณของฟิลเลอร์มากขึ้นค่าทอร์คยิ่งต่ำลงและอุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นความร้อนที่เกิดจากแรงเฉือนระหว่างสารประกอบ PVC, ฟิลเลอร์และผนังของส่วนผสมและความเข้ากันได้ของสารประกอบ PVC และฟิลเลอร์มีผลต่อตัวแปรทั้งหมด ไมก้าใช้เวลานานกว่าตัวอื่นๆ เมื่อใช้สารประกอบทั้งสองชนิด โดยไมก้าให้ค่าทอร์คของการหลอมสูงสุด เมื่อใช้สารประกอบชนิดแข็งซึ่งมีลักษณะคล้ายกับทาลครัม เมื่อใช้สารประกอบพลาสติกไซด์ แคลเซียมคาร์บอเนต ต้องการความร้อนที่เกิดจากแรงเฉือน มากกว่าฟิลเลอร์ชนิดอื่นๆ เมื่อใช้สารประกอบทั้ง 2 ชนิด ยกเว้นในสารประกอบพลาสติกไซด์ไมก้าแสดงผลทางความร้อนที่เกิดจากแรงเฉือน อย่างเด่นชัดเมื่อความเข้มข้นเพิ่มขึ้น
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

แฮเกบูชเลอร์ทอร์ครีโอมิเตอร์ถูกนำมาใช้ในการทำสารประกอบ PVC โดยนำสารประกอบไวนิลชนิดแข็งและพลาสติกไซค์ 100% 80% 70% และ 60% ผสมในสัดส่วนโดยตรงกับฟิลเลอร์ได้แก่ พลูเวอร์ไรซ์ ไลม์สโตน ทาลครัม ไมก้า วอลลาสโตไนท์ และแคลเซียมคาร์บอเนตในแต่ละสูตรผสมของ PVC /ฟิลเลอร์ โดยใช้ทอร์ค อุณหภูมิ เวลา (การหลอม) และความเข้มข้นของฟิลเลอร์เป็นข้อมูลจำแนกลักษณะของสูตรผสม ผลที่ได้แสดงว่าชนิดและความเข้มข้นของสารประกอบ PVC และฟิลเลอร์มีผลต่อทอร์ค อุณหภูมิและเวลาในการหลอมพบว่า ยังมีปริมาณของฟิลเลอร์มากขึ้นค่าทอร์คยิ่งต่ำลงและอุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นความร้อนที่เกิดจากแรงเฉือนระหว่างสารประกอบ PVC, ฟิลเลอร์และผนังของส่วนผสมและความเข้ากันได้ของสารประกอบ PVC และฟิลเลอร์มีผลต่อตัวแปรทั้งหมด ไมก้าใช้เวลานานกว่าตัวอื่นๆ เมื่อใช้สารประกอบทั้งสองชนิด โดยไมก้าให้ค่าทอร์คของการหลอมสูงสุด เมื่อใช้สารประกอบชนิดแข็งซึ่งมีลักษณะคล้ายกับทาลครัม เมื่อใช้สารประกอบพลาสติกไซด์ แคลเซียมคาร์บอเนต ต้องการความร้อนที่เกิดจากแรงเฉือน มากกว่าฟิลเลอร์ชนิดอื่นๆ เมื่อใช้สารประกอบทั้ง 2 ชนิด ยกเว้นในสารประกอบพลาสติกไซด์ไมก้าแสดงผลทางความร้อนที่เกิดจากแรงเฉือน อย่างเด่นชัดเมื่อความเข้มข้นเพิ่มขึ้น