พยาธิสภาพอันเนื่องมาจากสารพิษของสัตว์ขาปล้องกับการรักษาด้วยยาพื้นบ้านไทย / นิภา จันท์ศรีสมหมาย

By: นิภา จันท์ศรีสมหมายCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | สัตว์มีพิษ | พิษสัตว์ In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2545) หน้า 68-71Summary: พยาธิภายนอกของสัตว์ขาปล้องที่สามารถทำอันตรายแก่มนุษย์ได้มี 2 ทางคือ การกัด การดูดเลือด และทำความรบกวน ทำให้เกิดความเสียหายโดยทำให้กลัว ทำให้เกิดพิษ ทำให้เกิดโรคผิวหนัง จนกระทั่งทำให้เกิดอันตรายจากการเข้าไปในอวัยวะรับความรู้สึก สำหรับสัตว์ขาปล้องที่ทำให้เกิดพิษต่อมนุษย์คือ 1.พวกกัดหรือเจาะดูดเลือด จำพวก เหา เรือด ไร เห็บ (มีต่อ)Summary: 2.พวกต่อยโดยใช้เหล็กไน จำพวก ผึ้ง ต่อ แตน 3.พวกที่ทำให้เกิดพิษจากการสัมผัสขนหรือเกล็ด จำพวก หนอนบุ้ง และ 4.พวกที่ทำให้เกิดพิษจากการสัมผัสของเหลวที่สัตว์ขาปล้องขับออกมาเพื่อป้องกันภัยขณะที่มนุษย์ไปสัมผัสถูกตัว ซึ่งอาการเหล่านี้สามารถรักษาได้โดยใช้ยาสมุนไพรพื้นบ้าน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พยาธิภายนอกของสัตว์ขาปล้องที่สามารถทำอันตรายแก่มนุษย์ได้มี 2 ทางคือ การกัด การดูดเลือด และทำความรบกวน ทำให้เกิดความเสียหายโดยทำให้กลัว ทำให้เกิดพิษ ทำให้เกิดโรคผิวหนัง จนกระทั่งทำให้เกิดอันตรายจากการเข้าไปในอวัยวะรับความรู้สึก สำหรับสัตว์ขาปล้องที่ทำให้เกิดพิษต่อมนุษย์คือ 1.พวกกัดหรือเจาะดูดเลือด จำพวก เหา เรือด ไร เห็บ (มีต่อ)

2.พวกต่อยโดยใช้เหล็กไน จำพวก ผึ้ง ต่อ แตน 3.พวกที่ทำให้เกิดพิษจากการสัมผัสขนหรือเกล็ด จำพวก หนอนบุ้ง และ 4.พวกที่ทำให้เกิดพิษจากการสัมผัสของเหลวที่สัตว์ขาปล้องขับออกมาเพื่อป้องกันภัยขณะที่มนุษย์ไปสัมผัสถูกตัว ซึ่งอาการเหล่านี้สามารถรักษาได้โดยใช้ยาสมุนไพรพื้นบ้าน