มดตัวห้ำที่มีบทบาทควบคุมหนอนกออ้อยในสภาพแปลงอ้อยที่ต่างกัน / พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณี, จุฑารัตน์ อรรถจารุสิทธิ์, เดชา วิวัฒน์วิทยา

By: พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณีContributor(s): จุฑารัตน์ อรรถจารุสิทธิ์ | เดชา วิวัฒน์วิทยาCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): แมลงศัตรูพืช -- การควบคุม In: เทคโนโลยีสุรนารี ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2546) หน้า 339-349Summary: อ้อยเป็นพืชไร่เศรษฐกิจที่สำคัญทำรายได้ให้กับประเทศจากการส่งออกน้ำตาลสู่ตลาดโลกปีละกว่า 3 หมื่นล้านบาท สำหรับประเทศไทยนั้นมีพื้นที่ในการปลูกอ้อยประมาณ 6 ล้านไร่ และสามารถส่งออกได้ 74 ล้านตัน แต่ในการผลิตอ้อยนั้นก็ยังประสบกับปัญหาถูกทำลายจากหนอนกออ้อย จนทำให้อ้อยเกิดการเสียหายอย่างมาก จึงได้หาวิธีการป้องกันและกำจัดหนอนกออ้อยโดยการใช้มดเป็นกับดักแมลงศัตรูพืชที่เข้ามาทำลายอ้อย ซึ่งก็ประสบความสำเร็จแต่ก็ยังมีมารบกวนบ้างแต่ก็ไม่ได้มากและสร้างความเสียหายจนเกินไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

อ้อยเป็นพืชไร่เศรษฐกิจที่สำคัญทำรายได้ให้กับประเทศจากการส่งออกน้ำตาลสู่ตลาดโลกปีละกว่า 3 หมื่นล้านบาท สำหรับประเทศไทยนั้นมีพื้นที่ในการปลูกอ้อยประมาณ 6 ล้านไร่ และสามารถส่งออกได้ 74 ล้านตัน แต่ในการผลิตอ้อยนั้นก็ยังประสบกับปัญหาถูกทำลายจากหนอนกออ้อย จนทำให้อ้อยเกิดการเสียหายอย่างมาก จึงได้หาวิธีการป้องกันและกำจัดหนอนกออ้อยโดยการใช้มดเป็นกับดักแมลงศัตรูพืชที่เข้ามาทำลายอ้อย ซึ่งก็ประสบความสำเร็จแต่ก็ยังมีมารบกวนบ้างแต่ก็ไม่ได้มากและสร้างความเสียหายจนเกินไป