บทบาทอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในศตวรรษ 21 / จุฑาทิพย์ ปาละ

By: จุฑาทิพย์ ปาละCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2543) หน้า 106 - 109Summary: สมาพันธ์ไอทีโลก Witsa (World IT Services and Alliances) ร่วมกับ IDA (International Data Corporation) รายงานว่าใน "Digital Planet The Global Intermation Economy 1998" มูลค่าการใช้จ่าย ซอฟต์แวร์ ใน 53 ประเทศทั่วโลก (มีต่อ)Summary: อยู่ที่ 114.76 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือคิดเป็น อัตราแลกเปลี่ยน 36 บาท ต่อ 1 เหรียญสหรัฐฯ ประมาณ 4.13 ล้านล้านบาท นับเป็น เม็ดเงิน จำนวนมาก พอที่จะ ทำให้หลายประเทศ เร่งผลักดัน และ พัฒนา อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ ภายใน ประเทศ ของตนเอง (มีต่อ)Summary: เพื่อชิง ส่วนแบ่ง ของ ตลาดโลก ที่นับวัน จะมี ขนาดใหญ่ขึ้น โดยใน ประเทศ แถบเอเชีย ก็เป็น ตลาดผลิต ซอฟต์แวร์ ของโลกคือ ไต้หวัน และอินเดีย สำหรับ ประเทศไทย ตั้งโครงการ เขต อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ เป็นโครงการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง 4 ปี (มีต่อ)Summary: มีขอบข่าย ส่งเสริม อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ สี่ประการหลัก ประการแรก เป็นศูนย์ปม เพราะสำหรับ ผู้ประกอบการ รายย่อย ประการที่สอง จัดหาสำนักงาน ให้เช่า เพื่อการผลิต ซอฟต์แวร์ ปาร์คจึงเป็น ศูนย์กลาง อุตสาหกรรม ประการที่สาม เป็นศูนย์บริการต่างๆ ทั้งข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศ (มีต่อ)Summary: ประการสุดท้าย ส่งเสริม การขายซอฟต์แวร์ โดยจัดสถานที่ แสดงสินค้าถาวร เป็นหน้าที่หลัก ของโครงการ ส่วนการ กระจายสินค้า ออกสู่ตลาด นอกจาก จะเป็น โปรแกรมต่างๆ ไทยยังสร้างงาน ด้านมัลติมีเดีย เพื่อตลาด การส่งออก ได้อีกด้วย สำหรับซอฟต์แวร์ ที่จะมี (มีต่อ)Summary: การนำออก แข่งขันกับ ซอฟต์แวร์ ต่างประเทศได้ จะต้องมีคุณภาพ มีคุณสมบัติ การทำงาน ได้ตาม ความต้องการ ของตลาด มีการบริการ หลังการขาย บำรุงรักษา เมื่อลูกค้า ต้องการ และ ต้องมีราคา ที่เหมาะสม ใกล้เคียงกับ ซอฟต์แวร์ ในต่างประเทศ ด้วย (มีต่อ)Summary: ทั้งนี้รัฐบาล สถาบันการศึกษา และ ภาคเอกชน ควรร่วมมือ กันพัฒนา อุตสาหกรรม ในลักษณะดังกล่าว ให้เกิดขึ้น ในประเทศ โดยเร็วด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

สมาพันธ์ไอทีโลก Witsa (World IT Services and Alliances) ร่วมกับ IDA (International Data Corporation) รายงานว่าใน "Digital Planet The Global Intermation Economy 1998" มูลค่าการใช้จ่าย ซอฟต์แวร์ ใน 53 ประเทศทั่วโลก (มีต่อ)

อยู่ที่ 114.76 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือคิดเป็น อัตราแลกเปลี่ยน 36 บาท ต่อ 1 เหรียญสหรัฐฯ ประมาณ 4.13 ล้านล้านบาท นับเป็น เม็ดเงิน จำนวนมาก พอที่จะ ทำให้หลายประเทศ เร่งผลักดัน และ พัฒนา อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ ภายใน ประเทศ ของตนเอง (มีต่อ)

เพื่อชิง ส่วนแบ่ง ของ ตลาดโลก ที่นับวัน จะมี ขนาดใหญ่ขึ้น โดยใน ประเทศ แถบเอเชีย ก็เป็น ตลาดผลิต ซอฟต์แวร์ ของโลกคือ ไต้หวัน และอินเดีย สำหรับ ประเทศไทย ตั้งโครงการ เขต อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ เป็นโครงการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง 4 ปี (มีต่อ)

มีขอบข่าย ส่งเสริม อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ สี่ประการหลัก ประการแรก เป็นศูนย์ปม เพราะสำหรับ ผู้ประกอบการ รายย่อย ประการที่สอง จัดหาสำนักงาน ให้เช่า เพื่อการผลิต ซอฟต์แวร์ ปาร์คจึงเป็น ศูนย์กลาง อุตสาหกรรม ประการที่สาม เป็นศูนย์บริการต่างๆ ทั้งข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศ (มีต่อ)

ประการสุดท้าย ส่งเสริม การขายซอฟต์แวร์ โดยจัดสถานที่ แสดงสินค้าถาวร เป็นหน้าที่หลัก ของโครงการ ส่วนการ กระจายสินค้า ออกสู่ตลาด นอกจาก จะเป็น โปรแกรมต่างๆ ไทยยังสร้างงาน ด้านมัลติมีเดีย เพื่อตลาด การส่งออก ได้อีกด้วย สำหรับซอฟต์แวร์ ที่จะมี (มีต่อ)

การนำออก แข่งขันกับ ซอฟต์แวร์ ต่างประเทศได้ จะต้องมีคุณภาพ มีคุณสมบัติ การทำงาน ได้ตาม ความต้องการ ของตลาด มีการบริการ หลังการขาย บำรุงรักษา เมื่อลูกค้า ต้องการ และ ต้องมีราคา ที่เหมาะสม ใกล้เคียงกับ ซอฟต์แวร์ ในต่างประเทศ ด้วย (มีต่อ)

ทั้งนี้รัฐบาล สถาบันการศึกษา และ ภาคเอกชน ควรร่วมมือ กันพัฒนา อุตสาหกรรม ในลักษณะดังกล่าว ให้เกิดขึ้น ในประเทศ โดยเร็วด้วย