ข้อจำกัดความรับชอบของผู้รับเหมา / วิโรจน์ พูนสุวรรณ

By: วิโรจน์ พูนสุวรรณCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การก่อสร้าง | SCI-TECH In: ข่าวช่าง ปีที่ 27 ฉบับที่ 309 (มกราคม 2541) หน้า 62 - 64Summary: ในสัญญาก่อสร้างนั้นถ้าไม่ระบุกันไว้เป็นอย่างอื่น ผู้รับเหมาจะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย ให้เจ้าของโครงการเต็มที่ ทั้งในกรณีค่าเสียหายโดยตรง (Direct Damages) และค่าเสียหายทางอ้อม ( Consequential Damages ) หากเกิดความชำรุด บกพร่องในตัวงาน (มีต่อ)Summary: นั้นผู้รับเหมาจะต้อง รับผิดชอบตลอดระยะเวลาห้าปี นับตั้งแต่วันส่งมอบงาน หากมีความชำรุกบกพร่องขึ้นในห้าปีนี้ ผู้รับเหมาจะต้องรับผิดชอบซ่อมแซม แก้ไขและรับผิดต่อค่าเสียหายใดๆที่เกิดขึ้น แต่เจ้าของโครงการ มีสิทธิฟ้องร้องภายในหนึ่งปี นับตั้งแต่วันที่ปรากฏ(มีต่อ)Summary: ความชำรุดบกพร่องขึ้น ไม่ว่าจะฟ้องในมูลผิดสัญญาก่อสร้างหรือในมูลละเมิด ส่วนความเสียหายในเรื่องส่งมอบงานล่าช้า นั้นมีอายุสิบปี คือเจ้าของโครงการที่สงวนสิทธิ ไม่ตอบรับมอบงาน มีสิทธิที่จะฟ้องผู้รับเหมาได้ ในมูลผิดสัญญาสิบปี นับตั้งแต่ วันที่กำหนด (มีต่อ)Summary: ส่งมอบ แล้วเกิดความล่าช้า แต่เจ้าของโครงการรับมอบงานทำล่าช้านั้น ไม่ยืดเยื้อนหรือสงวนสิทธิอะไรไว้ เจ้าของโครงการก็มีสิทธิฟ้องร้องเช่นกัน แบบฟอร์มใบมอบงานจึงความสำคัญตรงนี้ ข้อจำกัดความรับผิดชอบของผู้รับเหมา ที่สำคัญมีอยู่หลายประการด้วยกัน คือ (มีต่อ)Summary: ข้อจำกัดความรับผิดชอบไม่เกินค่าจ้าง ถ้าไม่มีข้อจำกัดความรับผิดชอบไว้ เจ้าของโครงการเสียหายอย่างไร ก็มาเรียกเอาจากผู้รับเหมาได้ทั้งสิ้น ได้แก่ค่าเสียหายโดยตรง เช่น ถ้าตึกทรุด ตึกเอียง หรือโรงงานที่สร้างชำรุดบกพร่อง จนใช้การไม่ได้ ค่าใช้จ่ายที่เจ้าของเสียไป(มีต่อ)Summary: พร้อมดอกเบี้ย และค่าใช้จ่ายใช้จ่ายที่ต้องทำ สิ่งก่อสร้างนั้นขึ้นมาใหม่ ก็ถือว่าเป็นค่าเสียหายโดยตรง นอกจากนี้ผู้รับเหมา ยังต้องรับผิดชอบ ต่อค่าเสียหายโดยทางอ้อมด้วย ได้แก่ ค่าเสียหายที่ เจ้าของโครงการขาดไร้ประโยชน์และ กำไรที่ควรจะได้จากโครงการ(มีต่อ)Summary: และค่าเสียหายตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เจ้าของโครงการต้องชดใช้ ให้แก่บุคคลภายนอกSummary: โดยอัยการถือว่า ถ้าผู้รับเหมาก่อให้เกิดความเสียหายใดๆทั้งสิ้น ทางปฏิบัติของอัยการอันนี้ มีแนวโน้มว่ากำลังเปลี่ยนแปลง มีความยึดหยุ่นมากขึ้น โดยเฉพาะโครงการสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ ที่ต้องใช้เทคนิคจากต่างชาติ เพราะถ้าไม่ยอมให้มีข้อจำกัด ควาามรับผิดเสียเลย (มีต่อ)Summary: ก็จะไม่สอดคล้องกับแนวปฎิบัติของนานาประเทศ และทำให้นักลงทุนที่สวมบทผู้รับเหมาด้วยความลำบากใจที่จะลงนามในสัญญาที่ไม่มีข้อจำกัดความรับผิดเลย สำหรับผู้รับเหมาชาวไทย น่าจะลองเจรจากับอัยการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดู เพราะชอบด้วยเหตุผลประการทั้งปวง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในสัญญาก่อสร้างนั้นถ้าไม่ระบุกันไว้เป็นอย่างอื่น ผู้รับเหมาจะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย ให้เจ้าของโครงการเต็มที่ ทั้งในกรณีค่าเสียหายโดยตรง (Direct Damages) และค่าเสียหายทางอ้อม ( Consequential Damages ) หากเกิดความชำรุด บกพร่องในตัวงาน (มีต่อ)

นั้นผู้รับเหมาจะต้อง รับผิดชอบตลอดระยะเวลาห้าปี นับตั้งแต่วันส่งมอบงาน หากมีความชำรุกบกพร่องขึ้นในห้าปีนี้ ผู้รับเหมาจะต้องรับผิดชอบซ่อมแซม แก้ไขและรับผิดต่อค่าเสียหายใดๆที่เกิดขึ้น แต่เจ้าของโครงการ มีสิทธิฟ้องร้องภายในหนึ่งปี นับตั้งแต่วันที่ปรากฏ(มีต่อ)

ความชำรุดบกพร่องขึ้น ไม่ว่าจะฟ้องในมูลผิดสัญญาก่อสร้างหรือในมูลละเมิด ส่วนความเสียหายในเรื่องส่งมอบงานล่าช้า นั้นมีอายุสิบปี คือเจ้าของโครงการที่สงวนสิทธิ ไม่ตอบรับมอบงาน มีสิทธิที่จะฟ้องผู้รับเหมาได้ ในมูลผิดสัญญาสิบปี นับตั้งแต่ วันที่กำหนด (มีต่อ)

ส่งมอบ แล้วเกิดความล่าช้า แต่เจ้าของโครงการรับมอบงานทำล่าช้านั้น ไม่ยืดเยื้อนหรือสงวนสิทธิอะไรไว้ เจ้าของโครงการก็มีสิทธิฟ้องร้องเช่นกัน แบบฟอร์มใบมอบงานจึงความสำคัญตรงนี้ ข้อจำกัดความรับผิดชอบของผู้รับเหมา ที่สำคัญมีอยู่หลายประการด้วยกัน คือ (มีต่อ)

ข้อจำกัดความรับผิดชอบไม่เกินค่าจ้าง ถ้าไม่มีข้อจำกัดความรับผิดชอบไว้ เจ้าของโครงการเสียหายอย่างไร ก็มาเรียกเอาจากผู้รับเหมาได้ทั้งสิ้น ได้แก่ค่าเสียหายโดยตรง เช่น ถ้าตึกทรุด ตึกเอียง หรือโรงงานที่สร้างชำรุดบกพร่อง จนใช้การไม่ได้ ค่าใช้จ่ายที่เจ้าของเสียไป(มีต่อ)

พร้อมดอกเบี้ย และค่าใช้จ่ายใช้จ่ายที่ต้องทำ สิ่งก่อสร้างนั้นขึ้นมาใหม่ ก็ถือว่าเป็นค่าเสียหายโดยตรง นอกจากนี้ผู้รับเหมา ยังต้องรับผิดชอบ ต่อค่าเสียหายโดยทางอ้อมด้วย ได้แก่ ค่าเสียหายที่ เจ้าของโครงการขาดไร้ประโยชน์และ กำไรที่ควรจะได้จากโครงการ(มีต่อ)

และค่าเสียหายตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เจ้าของโครงการต้องชดใช้ ให้แก่บุคคลภายนอก

โดยอัยการถือว่า ถ้าผู้รับเหมาก่อให้เกิดความเสียหายใดๆทั้งสิ้น ทางปฏิบัติของอัยการอันนี้ มีแนวโน้มว่ากำลังเปลี่ยนแปลง มีความยึดหยุ่นมากขึ้น โดยเฉพาะโครงการสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ ที่ต้องใช้เทคนิคจากต่างชาติ เพราะถ้าไม่ยอมให้มีข้อจำกัด ควาามรับผิดเสียเลย (มีต่อ)

ก็จะไม่สอดคล้องกับแนวปฎิบัติของนานาประเทศ และทำให้นักลงทุนที่สวมบทผู้รับเหมาด้วยความลำบากใจที่จะลงนามในสัญญาที่ไม่มีข้อจำกัดความรับผิดเลย สำหรับผู้รับเหมาชาวไทย น่าจะลองเจรจากับอัยการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดู เพราะชอบด้วยเหตุผลประการทั้งปวง