การนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเสริมภูมิปัญญาไทย เพื่อพัฒนากรรมวิธีเพิ่มคุณภาพพลอยในการเผา / ศักดา ศิริพันธุ์

By: ศักดา ศิริพันธุ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี | เพชรพลอย In: วิทยาศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2543) หน้า 238 - 241Summary: ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการค้าและการเจียระไนพลอยสี ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเฉพาะทับทิมที่จำหน่ายในตลาดโลกร้อยละ 85 นอกจากนี้ประเทศไทยยังได้ชื่อว่าเป็นชาติที่มีภูมิปัญญาและมีความชำนาญด้านกรรมวิธีเผาพลอยหรือหุงพลอยได้สวยงาม อันเป็นการเพิ่มคุณภาพให้อัญมณีอีกด้วย การเพิ่มคุณภาพพลอยโดยการเผานั้นจะทำให้ พลอยมีสีสวยขึ้น เพิ่มความใสสะอาดโดยจะทำให้เนื้อพลอยเมื่อทำการเจียระไนแล้วเกิดความเป็นประกายหรือไฟดีขึ้นมาก (มีต่อ)Summary: ก่อนการเผาพลอยควรมีการศึกษาว่าพลอยแต่ละชนิดมีธาตุหรือสารประกอบที่เป็นมลทินชนิดใด โดยใช้เครื่องมือชั้นสูง เพื่อตรวจสอบมลทินแร่ในพลอย และเพื่อวัดปริมาณธาตุที่ให้สีในพลอย เมื่อทราบผลแล้วจึงสามารถนำไปกำหนดปัจจัยที่เป็นตัวแปรสำคัญในการเผา
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการค้าและการเจียระไนพลอยสี ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเฉพาะทับทิมที่จำหน่ายในตลาดโลกร้อยละ 85 นอกจากนี้ประเทศไทยยังได้ชื่อว่าเป็นชาติที่มีภูมิปัญญาและมีความชำนาญด้านกรรมวิธีเผาพลอยหรือหุงพลอยได้สวยงาม อันเป็นการเพิ่มคุณภาพให้อัญมณีอีกด้วย การเพิ่มคุณภาพพลอยโดยการเผานั้นจะทำให้ พลอยมีสีสวยขึ้น เพิ่มความใสสะอาดโดยจะทำให้เนื้อพลอยเมื่อทำการเจียระไนแล้วเกิดความเป็นประกายหรือไฟดีขึ้นมาก (มีต่อ)

ก่อนการเผาพลอยควรมีการศึกษาว่าพลอยแต่ละชนิดมีธาตุหรือสารประกอบที่เป็นมลทินชนิดใด โดยใช้เครื่องมือชั้นสูง เพื่อตรวจสอบมลทินแร่ในพลอย และเพื่อวัดปริมาณธาตุที่ให้สีในพลอย เมื่อทราบผลแล้วจึงสามารถนำไปกำหนดปัจจัยที่เป็นตัวแปรสำคัญในการเผา