หลักการและองค์ประกอบพื้นฐานในการออกแบบโฟโตโวลตาอิก / รัฐฐาน์ ฤทธิเกริกไกร

By: รัฐฐาน์ ฤทธิเกริกไกรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เซลล์แสงอาทิตย์ | พลังงานแสงอาทิตย์ | โฟโตโวลตาอิก In: โลกพลังงาน ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 (มกราคม-มีนาคม 2544) หน้า 22 - 29Summary: ปัจจุบันภูมิอากาศของประเทศไทย เป็นเขตร้อนชื้นจึงมีการแผ่รังสีจากแสงอาทิตย์ค่อนข้างมาก หากเราต้องการผลิตไฟฟ้าใช้เองนั้น มีระบบที่น่าสนใจนำมาใช้คือ ระบบโฟโตโวลตาอิก ซึ่งได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำ แล้วสามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์หรือแสงสว่างอื่นๆ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง หากนำเซลล์แสงอาทิตย์มาต่อกันทางไฟฟ้าในรูปแบบของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ก็จะได้หน่วยของโฟโตโวลตาอิกที่เล็กที่สุด ซึ่งมีข้อได้เปรียบกว่าระบบอื่นๆ เช่นความคุ้มค่าในการลงทุนในพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลซึ่งไฟฟ้าเข้าไม่ถึง ไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว ทำให้ไม่มีเสียงรบกวน ต้องการการซ่อมบำรุงน้อยและไม่ก่อให้เกิดมลพิษกับสิ่งแวดล้อม
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบันภูมิอากาศของประเทศไทย เป็นเขตร้อนชื้นจึงมีการแผ่รังสีจากแสงอาทิตย์ค่อนข้างมาก หากเราต้องการผลิตไฟฟ้าใช้เองนั้น มีระบบที่น่าสนใจนำมาใช้คือ ระบบโฟโตโวลตาอิก ซึ่งได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำ แล้วสามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์หรือแสงสว่างอื่นๆ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง หากนำเซลล์แสงอาทิตย์มาต่อกันทางไฟฟ้าในรูปแบบของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ก็จะได้หน่วยของโฟโตโวลตาอิกที่เล็กที่สุด ซึ่งมีข้อได้เปรียบกว่าระบบอื่นๆ เช่นความคุ้มค่าในการลงทุนในพื้นที่ที่อยู่ห่างไกลซึ่งไฟฟ้าเข้าไม่ถึง ไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว ทำให้ไม่มีเสียงรบกวน ต้องการการซ่อมบำรุงน้อยและไม่ก่อให้เกิดมลพิษกับสิ่งแวดล้อม

Share