ริ้นน้ำจืด : ความสัมพันธ์กับตัวห้ำและแมลงศัตรูข้าว / รจนา สุรการ, สุวัฒน์ รวยอารีย์, ทัศนีย์ สงวนสัจ

By: รจนา สุรการContributor(s): สุวัฒน์ รวยอารีย์ | ทัศนีย์ สงวนสัจCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ข้าว -- นิเวศวิทยา | ข้าว -- วิจัย In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2543) หน้า 94 - 109Summary: ในสภาพที่มีริ้นน้ำจืดร่วมอยู่ด้วยประสิทธิภาพในการกินเพลี้ยจักจั่นสีเขียวของแมงมุมเขี้ยวยาวลดลง 32.6-57.5% สำหรับแมงมุมสุนัขป่าประสิทธิภาพในการกินเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลลดลง 25.3-48.0% และแมลงในบ่อเข็มประสิทธิภาพการกินพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลลดลง 21.8-34.5% ประสิทธิภาพในการกินแมลงศัตรูของตัวห้ำลดลง เมื่อความหนาแน่นของริ้นน้ำจืดเพิ่มขึ้น (มีต่อ)Summary: ในนาข้าวอินทรีย์พบริ้นน้ำจืดมากในระยะการเจริญเติบโตแรกๆ ของข้าวหลังจากการปักดำ ซึ่งในขณะนั้นจำนวนแมลงศัตรูข้าวซึ่งเป็นอาหารของตัวห้ำในนาข้าวเพิ่มขึ้น ปริมาณริ้นน้ำจืดมีความสัมพันธ์ต่อแมลงศัตรูพืชและตัวห้ำในระบบนิเวศในนาข้าว ซึ่งควรคำนึงถึงในการวางแผนการจัดการแมลงศัตรูข้าวให้เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในสภาพที่มีริ้นน้ำจืดร่วมอยู่ด้วยประสิทธิภาพในการกินเพลี้ยจักจั่นสีเขียวของแมงมุมเขี้ยวยาวลดลง 32.6-57.5% สำหรับแมงมุมสุนัขป่าประสิทธิภาพในการกินเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลลดลง 25.3-48.0% และแมลงในบ่อเข็มประสิทธิภาพการกินพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลลดลง 21.8-34.5% ประสิทธิภาพในการกินแมลงศัตรูของตัวห้ำลดลง เมื่อความหนาแน่นของริ้นน้ำจืดเพิ่มขึ้น (มีต่อ)

ในนาข้าวอินทรีย์พบริ้นน้ำจืดมากในระยะการเจริญเติบโตแรกๆ ของข้าวหลังจากการปักดำ ซึ่งในขณะนั้นจำนวนแมลงศัตรูข้าวซึ่งเป็นอาหารของตัวห้ำในนาข้าวเพิ่มขึ้น ปริมาณริ้นน้ำจืดมีความสัมพันธ์ต่อแมลงศัตรูพืชและตัวห้ำในระบบนิเวศในนาข้าว ซึ่งควรคำนึงถึงในการวางแผนการจัดการแมลงศัตรูข้าวให้เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ