หนี้ต่างประเทศดีหรือเสียอยู่ที่การจัดการ / ประสิทธิ์ ตินารักษ์

By: ประสิทธิ์ ตินารักษ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เศรษฐกิจ In: ข่าวช่าง ปีที่ 27 ฉบับที่ 327 (สิงหาคม 2542) หน้า 58-60Summary: อิณาทานํ ทุกขํ โลเก การกู้หนี้เป็นทุกข์ในโลก จริงหรือไม่นั้นมาพิจารณาข้อมูลหนี้ต่างประเทศกันดูก่อน ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลที่เผยแพร่จากการประชุม ครม. นอกจากใช้หลักเศรษฐศาสตร์และยังใช้หลักธรรมได้อาทิ พุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า "น ตํ กมมํ กตํ สาธุ ยํ กตวา อนุตปปติ ทำกรรมใดแล้วร้อนใจภายหลัง กรรมที่ทำแล้วนั้นไม่ดี" ก็ตรวจสอบดูว่าเมื่อรู้เห็นดังนี้แล้วร้อนใจหรือไม่ ภาวะหนี้ท่วมหัวจะสามารถเอาตัวรอดกันได้มากน้อยขนาดไหน หรือเห็นแต่ความมืดไร้แสงสว่าง (มีต่อ)Summary: ประเด็นเกี่ยวกับเงินจะเฟ้อหรือเงินจะฝืดนั้น ข้อมูลแสดงถึงการพยายามควบคุมเงินเฟ้ออย่างเต็มที่ โดยที่แนวโน้มแล้วอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มขึ้น เมื่อดูจากตัวเลขของปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่จะไม่เพิ่มขึ้นเร็วนัก หรืออาจจะรู้สึกกันว่าเงินฝืดเพราะว่า ฐานเงินลดลงอย่างต่อเนื่องสวนทางกับปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้น รูปธรรมก็คือ ปรากฎการณ์ที่มีข่าวและข้อมูลว่าเงินปล้นแบงก์ แต่ข้อเท็จจริงคือ แบงก์ไม่ค่อยปล่อยกู้เท่าไรนักโดยอ้างเหตุว่ากลัวหนี้เสีย ทั้งๆ ที่การไม่ปล่อยกู้ให้ภาคธุรกิจ (มีต่อ)Summary: มีเงินลดดำเนินการต่อยิ่งมีส่วนทำให้อัตราหนี้เสียไม่ลดลง จากข้อมูลดังกล่าว จึงมีการสรุปกันอย่างกว้างขวางว่า เศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัว แต่ต้องดำเนินการขยับขยายธุรกิจอย่างระมัดระวัง เพราะยังมีอันตรายจากปัจจัยภายนอกที่ควบคุมไม่ได้ อาทิ ค่าเงินหยวน และค่าเงินเยน เป็นต้น อะไรกำลังจะเกิดขึ้นในขณะที่ภาครัฐบาลยืนยันว่า ประเทศไทยขึ้นหัวถนนแห่งการฟื้นตัวแล้ว แต่นักเศรษฐศาสตร์บางท่านก็ยังเตือนว่าอาจจะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจรอบสอง หรือในกรณีอุตสาหกรรมก่อสร้างก็แทบจะไร้งาน หากรัฐบาลไม่สร้างหรือสานโครงการขนาดใหญ่ขึ้นมากระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟื้นตัวอย่างมีเสถียรภาพ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

อิณาทานํ ทุกขํ โลเก การกู้หนี้เป็นทุกข์ในโลก จริงหรือไม่นั้นมาพิจารณาข้อมูลหนี้ต่างประเทศกันดูก่อน ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลที่เผยแพร่จากการประชุม ครม. นอกจากใช้หลักเศรษฐศาสตร์และยังใช้หลักธรรมได้อาทิ พุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า "น ตํ กมมํ กตํ สาธุ ยํ กตวา อนุตปปติ ทำกรรมใดแล้วร้อนใจภายหลัง กรรมที่ทำแล้วนั้นไม่ดี" ก็ตรวจสอบดูว่าเมื่อรู้เห็นดังนี้แล้วร้อนใจหรือไม่ ภาวะหนี้ท่วมหัวจะสามารถเอาตัวรอดกันได้มากน้อยขนาดไหน หรือเห็นแต่ความมืดไร้แสงสว่าง (มีต่อ)

ประเด็นเกี่ยวกับเงินจะเฟ้อหรือเงินจะฝืดนั้น ข้อมูลแสดงถึงการพยายามควบคุมเงินเฟ้ออย่างเต็มที่ โดยที่แนวโน้มแล้วอัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มขึ้น เมื่อดูจากตัวเลขของปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่จะไม่เพิ่มขึ้นเร็วนัก หรืออาจจะรู้สึกกันว่าเงินฝืดเพราะว่า ฐานเงินลดลงอย่างต่อเนื่องสวนทางกับปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้น รูปธรรมก็คือ ปรากฎการณ์ที่มีข่าวและข้อมูลว่าเงินปล้นแบงก์ แต่ข้อเท็จจริงคือ แบงก์ไม่ค่อยปล่อยกู้เท่าไรนักโดยอ้างเหตุว่ากลัวหนี้เสีย ทั้งๆ ที่การไม่ปล่อยกู้ให้ภาคธุรกิจ (มีต่อ)

มีเงินลดดำเนินการต่อยิ่งมีส่วนทำให้อัตราหนี้เสียไม่ลดลง จากข้อมูลดังกล่าว จึงมีการสรุปกันอย่างกว้างขวางว่า เศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัว แต่ต้องดำเนินการขยับขยายธุรกิจอย่างระมัดระวัง เพราะยังมีอันตรายจากปัจจัยภายนอกที่ควบคุมไม่ได้ อาทิ ค่าเงินหยวน และค่าเงินเยน เป็นต้น อะไรกำลังจะเกิดขึ้นในขณะที่ภาครัฐบาลยืนยันว่า ประเทศไทยขึ้นหัวถนนแห่งการฟื้นตัวแล้ว แต่นักเศรษฐศาสตร์บางท่านก็ยังเตือนว่าอาจจะเกิดวิกฤตเศรษฐกิจรอบสอง หรือในกรณีอุตสาหกรรมก่อสร้างก็แทบจะไร้งาน หากรัฐบาลไม่สร้างหรือสานโครงการขนาดใหญ่ขึ้นมากระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟื้นตัวอย่างมีเสถียรภาพ