ทะเลจีนใต้และหมู่เกาะสแปรทลีย์ ชนวนแห่งความขัดแย้งด้านสิทธิครอบครอง

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ In: นโยบายพลังงาน ฉบับที่ 51 (มกราคม-มีนาคม 2544) หน้า 43 - 47Summary: บริเวณทะเลจีนใต้นับได้ว่าเป็นเส้นทางการจราจรทางทะเลที่คับคั่งที่สุดเป็นอันดับสองของโลก นอกจากนี้พื้นที่ในเขตทะเลจีนใต้ยังมีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากคาดว่าในบริเวณนี้มีแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และมีหลายประเทศที่ต้องใช้พลังงานจำนวนมาก ขณะนี้มีความขัดแย้งในหลายประเด็นเกี่ยวกับการอ้างสิทธิเหนือพื้นที่ในทะเลจีนใต้ แต่จุดที่มีความขัดแย้งที่สุดและได้รับการจับตามองจากทั่วโลกคือ (มีต่อ)Summary: การอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะสแปรทลีย์และหมู่เกาะพาราเซล และบ่อยครั้งที่ความขัดแย้งนี้เกี่ยวพันถึงการอ้างสิทธิเหนือทรัพยากรธรรมชาติน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งความขัดแย้งนี้นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น ตราบใดที่ยังไม่สามารถหาข้อยุติในการอ้างสิทธิที่คาบเกี่ยวกันได้ การจัดตั้งกระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยโดยสันติวิธี และจัดทำ "ระเบียบปฏิบัติ" ที่ยอมรับร่วมกัน จึงจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นหลักประกันต่อความมั่นคงและความสงบสุขของภูมิภาค
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

บริเวณทะเลจีนใต้นับได้ว่าเป็นเส้นทางการจราจรทางทะเลที่คับคั่งที่สุดเป็นอันดับสองของโลก นอกจากนี้พื้นที่ในเขตทะเลจีนใต้ยังมีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากคาดว่าในบริเวณนี้มีแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และมีหลายประเทศที่ต้องใช้พลังงานจำนวนมาก ขณะนี้มีความขัดแย้งในหลายประเด็นเกี่ยวกับการอ้างสิทธิเหนือพื้นที่ในทะเลจีนใต้ แต่จุดที่มีความขัดแย้งที่สุดและได้รับการจับตามองจากทั่วโลกคือ (มีต่อ)

การอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะสแปรทลีย์และหมู่เกาะพาราเซล และบ่อยครั้งที่ความขัดแย้งนี้เกี่ยวพันถึงการอ้างสิทธิเหนือทรัพยากรธรรมชาติน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งความขัดแย้งนี้นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น ตราบใดที่ยังไม่สามารถหาข้อยุติในการอ้างสิทธิที่คาบเกี่ยวกันได้ การจัดตั้งกระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยโดยสันติวิธี และจัดทำ "ระเบียบปฏิบัติ" ที่ยอมรับร่วมกัน จึงจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นหลักประกันต่อความมั่นคงและความสงบสุขของภูมิภาค