"กาวเจลาติน" ที่ช่วยการแข็งตัวของเลือด

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | พลาสติกในการแพทย์ In: พลาสติก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2544) หน้า 27 - 28Summary: การติดเนื้อเยื่อเป็นวิทยาการทางการแพทย์ที่ถูกพัฒนาใช้ในการปิดปากแผล เพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวออกจากบาดแผล อันเป็นปัญหาหลักอย่างหนึ่งของการรักษาบาดแผลด้วยการเย็บ จากการพิจารณาถึงความพร้อมของโรงพยาบาลด้านบุคลากรและเครื่องมืออุปกรณ์ยังพบว่า กาวเจลาตินเป็นกาวติดเนื้อเยื่อที่มีความเหมาะสมมากที่สุดสำหรับการใช้งานในประเทศไทย กาวเจลาตินไม่สามารถก่อให้เกิดการแข็งตัวของเลือด ทำให้ประสิทธิภาพในการรักษาบาดแผลลดน้อยลง (มีต่อ)Summary: จึงได้มีการวิจัยที่จะสังเคราะห์กาวติดเนื้อเยื่อแบบเจลาตินชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติการแข็งตัวของเลือด โดย"ไคโตซาน" ซึ่งเป็นวัสดุที่สามารถผลิตได้ในไทย ได้ถูกนำมาใช้ในการเสริมสร้างคุณสมบัติการแข็งตัวของเลือดให้กับกาวเจลาตินและยังได้นำมาศึกษาเพิ่มเติมที่จะพัฒนาคุณสมบัติอื่นๆ ที่จำเป็นต่อการนำไปใช้เป็นกาวติดเนื้อเยื่อ ได้แก่ การแข็งตัวของเจล ความแข็งแรงในการยึดตัว ความเป็นพิษต่อเซลล์ และการย่อยสลายทางชีวภาพ ซึ่งหากโครงการนี้สำเร็จในอนาคตอันใกล้ จะทำให้ประชาชนมีโอกาสได้รับการรักษาบาดแผลด้วยกาวติดเนื้อเยื่อที่มีคุณภาพ และราคาถูกกว่าในปัจจุบัน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การติดเนื้อเยื่อเป็นวิทยาการทางการแพทย์ที่ถูกพัฒนาใช้ในการปิดปากแผล เพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวออกจากบาดแผล อันเป็นปัญหาหลักอย่างหนึ่งของการรักษาบาดแผลด้วยการเย็บ จากการพิจารณาถึงความพร้อมของโรงพยาบาลด้านบุคลากรและเครื่องมืออุปกรณ์ยังพบว่า กาวเจลาตินเป็นกาวติดเนื้อเยื่อที่มีความเหมาะสมมากที่สุดสำหรับการใช้งานในประเทศไทย กาวเจลาตินไม่สามารถก่อให้เกิดการแข็งตัวของเลือด ทำให้ประสิทธิภาพในการรักษาบาดแผลลดน้อยลง (มีต่อ)

จึงได้มีการวิจัยที่จะสังเคราะห์กาวติดเนื้อเยื่อแบบเจลาตินชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติการแข็งตัวของเลือด โดย"ไคโตซาน" ซึ่งเป็นวัสดุที่สามารถผลิตได้ในไทย ได้ถูกนำมาใช้ในการเสริมสร้างคุณสมบัติการแข็งตัวของเลือดให้กับกาวเจลาตินและยังได้นำมาศึกษาเพิ่มเติมที่จะพัฒนาคุณสมบัติอื่นๆ ที่จำเป็นต่อการนำไปใช้เป็นกาวติดเนื้อเยื่อ ได้แก่ การแข็งตัวของเจล ความแข็งแรงในการยึดตัว ความเป็นพิษต่อเซลล์ และการย่อยสลายทางชีวภาพ ซึ่งหากโครงการนี้สำเร็จในอนาคตอันใกล้ จะทำให้ประชาชนมีโอกาสได้รับการรักษาบาดแผลด้วยกาวติดเนื้อเยื่อที่มีคุณภาพ และราคาถูกกว่าในปัจจุบัน