รัฐธรรมนูญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม / รักเมท ทองภิญโญชัย

By: รักเมท ทองภิญโญชัยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ทรัพยากรธรรมชาติ In: สิ่งแวดล้อม ปีที่ 4 ฉบับที่ 16 (มกราคม-มีนาคม 2543) หน้า 25 - 31Summary: มนุษย์และสิ่งแวดล้อมต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เมื่อเวลาเปลี่ยนไปสังคมเปลี่ยนไป สิ่งแวดล้อมถูกทำลายจนเกิดผลกระทบ และเกิดปรากฎการณ์อันไม่พึงประสงค์ ผลกระทบที่เกิดกับสิ่งแวดล้อมนั้น เกิดจากสาเหตหลักสองอย่างคือ ตัวแปรที่หนึ่งคือ มนุษย์ และภัยธรรมชาติ ตัวแปรที่สองคือ การทำลายล้างด้วยมือของมนุษย์เช่น การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม กิจกรรมเหล่านี้มีส่วนในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)Summary: และก่อให้เกิดภัยธรรมชาติด้วยเนื่องจากมีการนำเอาทรัพยากรมาใช้ทำให้เกิดการเสียสมดุลทางธรรมชาติ และจากสาเหตนี้ก่อให้เกิดมลพิษต่างๆ ด้วย ดังนั้นรัฐจึงได้เห็นว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมเริ่มมีความรุนแรงมากขึ้นและนานแล้วจึงมีการพิทักษ์รักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเอาไว้ ได้มีการกำหนดในรัฐธรรมนูญว่า รัฐต้องมีหน้าที่ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมโดยเริ่มมีพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอ้มฉบับแรกในปี พ.ศ.2518 (พระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2518) (มีต่อ)Summary: ในส่วนของประชาชนนั้นก็มีการใช้สิทธิในการเสนอร่างกฎหมายเข้าไปสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยการเข้าชื่อกัน 50,000ชื่อ เสนอร่างกฎหมายหลักการและเหตผล วัตถุประสงค์ไปยังประชาชนรัฐสภา ตามวิธีการที่ระบุในพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ปีพ.ศ.2542 ในส่วนพระราชบัญญัตินี้ ก็มีส่วนเป็นอย่างมากในการช่วยเก็บรักษาและช่วยทำให้ทรัพยากรทางธรรมชาติ ยังคงอยู่ให้ลูกหลานได้ใช้ประโยชน์ต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

มนุษย์และสิ่งแวดล้อมต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เมื่อเวลาเปลี่ยนไปสังคมเปลี่ยนไป สิ่งแวดล้อมถูกทำลายจนเกิดผลกระทบ และเกิดปรากฎการณ์อันไม่พึงประสงค์ ผลกระทบที่เกิดกับสิ่งแวดล้อมนั้น เกิดจากสาเหตหลักสองอย่างคือ ตัวแปรที่หนึ่งคือ มนุษย์ และภัยธรรมชาติ ตัวแปรที่สองคือ การทำลายล้างด้วยมือของมนุษย์เช่น การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม กิจกรรมเหล่านี้มีส่วนในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)

และก่อให้เกิดภัยธรรมชาติด้วยเนื่องจากมีการนำเอาทรัพยากรมาใช้ทำให้เกิดการเสียสมดุลทางธรรมชาติ และจากสาเหตนี้ก่อให้เกิดมลพิษต่างๆ ด้วย ดังนั้นรัฐจึงได้เห็นว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมเริ่มมีความรุนแรงมากขึ้นและนานแล้วจึงมีการพิทักษ์รักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติเอาไว้ ได้มีการกำหนดในรัฐธรรมนูญว่า รัฐต้องมีหน้าที่ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมโดยเริ่มมีพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอ้มฉบับแรกในปี พ.ศ.2518 (พระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2518) (มีต่อ)

ในส่วนของประชาชนนั้นก็มีการใช้สิทธิในการเสนอร่างกฎหมายเข้าไปสู่การพิจารณาของรัฐสภา โดยการเข้าชื่อกัน 50,000ชื่อ เสนอร่างกฎหมายหลักการและเหตผล วัตถุประสงค์ไปยังประชาชนรัฐสภา ตามวิธีการที่ระบุในพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ปีพ.ศ.2542 ในส่วนพระราชบัญญัตินี้ ก็มีส่วนเป็นอย่างมากในการช่วยเก็บรักษาและช่วยทำให้ทรัพยากรทางธรรมชาติ ยังคงอยู่ให้ลูกหลานได้ใช้ประโยชน์ต่อไป